กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า
1. ผลการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอล อายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 2,450 ราย พบกลุ่มเสี่ยง 345 ราย กลุ่มสงสัยที่จะเป็นโรค 58 ราย ซึ่งเดิมผู้ป่วยที่รับการรักษาแล้ว 315 ราย มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ซึ่งมีโอกาสสูงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต 2. กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองและลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคในอนาคต ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 373 ราย เบาหวาน 73 ราย มีผู้้ป่วยที่มีโรคแทรกซ้อน  3 ราย และเสียชีวิต 2 ราย กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือด ควบคุมได้ดีร้อยละ 87 พบผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน อัมพฤกษ์ อัมภาต โรคหลอดเลือด 3 ราย ได้มีการรักษา ติดตามและเยี่ยมบ้านมีอาการดีขึ้นนเป็นลำดับ สามารถดเดินได้ 2 ราย ติดเตียง 1 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงการป้องกัน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ภาวะจิตใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน  (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงการป้องกัน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ภาวะจิตใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน  (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh