กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันภัยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 61 - l5191 - 1 - 01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด
วันที่อนุมัติ 10 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 45,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเอมอร เหลาะเหม
พี่เลี้ยงโครงการ นายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,101.009place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 11 เม.ย. 2561 28 ก.ย. 2561 45,000.00
รวมงบประมาณ 45,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2009 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน (คน)
45.00
2 จำนวนของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน (คน)
6.00
3 จำนวนของประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในผู้ป่วยรายใหม่ที่เป็นโรคเบาหวาน (คน)
6.00
4 จำนวนของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (คน)
478.00
5 จำนวนของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในกลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (คน)
42.00
6 จำนวนของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในกลุ่มผู่ป่วยรายใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง (คน)
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง ส่วนหนึ่งนั้น โดยได้กำหนดตัวชื้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ละเลิกการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ผ่านการตรวจคัดกรอง และพบว่ามีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เข้าร่วมกิจกรรมโดยความสมัครใจ 40 คน

90.00
2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เข้าร่วมกิจกรรมโดยความสมัครใจ 75 คน

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 35,000.00 0 0.00
3 ม.ค. 61 - 30 เม.ย. 61 กิจกรรมที่ 1 การสร้างแกนนำวิทยากรและการพฒนาหลักสูตรเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 0.00 -
3 ม.ค. 61 - 31 พ.ค. 61 กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1 การอบรมกลุ่มเสี่ยงให้มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตัวเอง จำนวน 50 คน 0 12,500.00 -
24 เม.ย. 61 กิจกรรมที่ 3 การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย ครั้งที่ 1 เป็นการอบรมกลุ่มผู้ป่วยให้มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตัวเอง 0 12,500.00 -
24 เม.ย. 61 กิจกรรมที่ 3 การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 6 เดือน 0 10,000.00 -
2 ก.ค. 61 - 31 ส.ค. 61 กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 6 เดือน เพื่อเป็นการติดตาม ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 0 0.00 -

กิจกรรมที 1 การสร้างแกนนำวิทยากรและการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเนื้อหา กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯการพิจารณากลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน 2. ประสานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด, อสม 1.3ดำเนินการประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทบทวนความรู้ และพิจารณาจัดทำหลักสูตรพื้นฐานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและวิถีชุมชน จัดหลักสูตรตามกลุ่มเป้าหมายและปัจจัยเสี่ยง 1.4เจ้าหน้าที่ผู้ร่วมจัดทำหลักสูตร เป็นทีมวิทยากรให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามแบบวิถีชุมชนโดยสร้างการมีส่วนร่วมกิจกรรมจากประชาชนกลุ่มเสี่ยง 1.5ประเมินผลการใช้หลักสูตร สรุปผลการดำเนินโครงการ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน และบุคคลต้นแบบของชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2561 11:42 น.