กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสุพิชชาหมาดสกุล




ชื่อโครงการ โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจมน้ำเป็นสาเหตุที่ทำให้เด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปีเสียชีวิตสูงเป็นอันดับหนึ่งของทุกสาเหตุ ทั้งโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อ จากข้อมูลในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2545 – 2554) พบว่ามีเด็กจมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ยสูงสุดถึง 1352 คนต่อปี หรือวันละเกือบ 4 คน ช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงเดือนที่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เนื่องจากตรงกับช่วงปิดภาคการศึกษาและช่วงฤดูร้อน พบว่าใน 3 เดือนมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 464 คน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลบ้านจึงได้จัดทำโครงการ “หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” เพื่อการรณรงค์ให้กับประชาชนในชุมชนตำบลบ้านควนขึ้น ในปีงบประมาณ 2560 โดยมีวัตถุประสงค์และแนวคิดเพื่อสื่อสารให้ประชาชนทราบว่า ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กจะต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ตามลำพังแม้เพียงเสี้ยววินาทีเดียวและแหล่งน้ำที่มีน้ำเพียงเล็กน้อยก็สามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ ซึ่งในกลุ่มเด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี เด็กจะต้องอยู่ในระยะที่มองเห็น เข้าถึงและคว้าถึง รวมทั้งการใส่เสื้อชูชีพขณะที่เดินทางทางน้ำหรือทำกิจกรรมทางน้ำ ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการจมน้ำของเด็ก และเป็นมาตรการหนึ่งที่จะบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ซึ่งได้กำหนดไว้ว่าในอีก 5 ปี อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีจะต้องไม่เกิน 8 คนต่อประชากรเด็กแสนคน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า ต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การหันไปทำกิจกรรมต่างๆ เพียงเสี้ยววินาที และปล่อยเด็กตามลำพังก็อาจทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และการใส่เสื้อชูชีพ ขณะที่เดินทางทางน้ำหรือทำกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น
  2. 2. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่คว้าถึง และหากเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นและเข้าถึงทันเวลา
  3. 3. เพื่อสื่อสารให้ประชาชนทั่วไป รับรู้เกี่ยวกับความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ
  4. 4. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไปได้มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาเด็กจมน้ำและมีมาตรการในการป้องกัน

    2. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไปมีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ

    3. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ประชาชนทั่วไป ความรู้เรื่องปัญหาการจมน้ำในกลุ่มเด็กอายุ 3 - 5 ปี

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.การตอบคำถามถามย้อนกลับได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 95
    2.การสาธิตหลังจากให้ความรู้ได้ถูกต้อง 100 เปอรเซ็น 3.มีเด็กจมน้ำ  1  ราย (ไม่เสียชีวิต)
    4.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า  15  ปี ร้อยละ 0 5.สามารถตอบคำถามอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยทางน้ำและป้องกันได้ ร้อยละ 100

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ประชาชนทั่วไป ผลการประเมิน
    1.การตอบคำถามย้อนกลับได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 95
    2.สาธิตหลังจากให้ความรู้ได้ถูกต้อง 100  เปอรเซ็น 3.มีเด็กจมน้ำ  1  ราย (ไม่เสียชีวิต)
    4.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ร้อยละ 0 5.สามารถตอบคำถามอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยทางน้ำ  และวิธีป้องกันได้ ร้อยละ 100 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 1.ขณะที่กำลังสอนถึงสาเหตุในการจมน้ำในเด็กเล็ก มีผู้ปกครองบางคนมีสีหน้ากังวล เพราะบางครั้งเผลอ และให้เด็กเล่นในน้ำเพียงลำพัง ลืมนึกถึง คาดไม่ถึงอุบัติเหตุ และเมื่อเราได้มาแนะนำและเล่าเหตุการณ์ต่างที่เกิดขึ้น ทำให้ผู้ปกครองตระหนักถึงอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้
    2.มีการเสนอแนะแลกเปลี่ยนกันในผู้ปกครองกันเองในการป้องกันและวิธีการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น แต่ติดปัญหาตรงที่ไม่เงินในการดำเนินการป้องกัน ปัญหา/อุปสรรค 1.ชาวบ้านเสนอ วางจำพวก อุปกรณ์ เช่น แกลลอน ขวดน้ำในสถานที่ ที่มีเด็กไปเล่นน้ำบ่อย แต่กลัวมีคนมาเอา ถ้าเขียนป้ายบอกให้เป็นมาตรฐาน ต้องใช้งบประมาณมาก 2.ชาวบ้านอยากให้มีการเรียนการสอนที่เป็นภาคปฏิบัติเกี่ยวกับการลอยตัวในน้ำ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า ต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การหันไปทำกิจกรรมต่างๆ เพียงเสี้ยววินาที และปล่อยเด็กตามลำพังก็อาจทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และการใส่เสื้อชูชีพ ขณะที่เดินทางทางน้ำหรือทำกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น
    ตัวชี้วัด : - มีความรู้และมีมาตรการในการป้องกันเด็กจมน้ำเสียชีวิตได้

     

    2 2. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่คว้าถึง และหากเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นและเข้าถึงทันเวลา
    ตัวชี้วัด : - มีความรู้และมีมาตรการในการป้องกันเด็กจมน้ำเสียชีวิตได้

     

    3 3. เพื่อสื่อสารให้ประชาชนทั่วไป รับรู้เกี่ยวกับความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ
    ตัวชี้วัด : - มีความรู้และมีมาตรการในการป้องกันเด็กจมน้ำเสียชีวิตได้

     

    4 4. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ
    ตัวชี้วัด : - มีความรู้และมีมาตรการในการป้องกันเด็กจมน้ำเสียชีวิตได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า ต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การหันไปทำกิจกรรมต่างๆ เพียงเสี้ยววินาที และปล่อยเด็กตามลำพังก็อาจทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และการใส่เสื้อชูชีพ ขณะที่เดินทางทางน้ำหรือทำกิจกรรมทางน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็น (2) 2. เพื่อสื่อสารให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป รับรู้ว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่คว้าถึง และหากเป็นกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี เด็กต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นและเข้าถึงทันเวลา (3) 3. เพื่อสื่อสารให้ประชาชนทั่วไป รับรู้เกี่ยวกับความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ (4) 4. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และประชาชนทั่วไป ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการป้องกันการจมน้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ“หนูไม่จมน้ำแน่....ถ้าช่วยกันดูแลป้องกัน” รพ.สต.บ้านควน1ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุพิชชาหมาดสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด