โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ ”
ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายธิติ สิทธิศักดิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61L 7573-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61L 7573-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีกิจกรรมทางกายไม่เเพียงพอของคนมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลก โดยส่วนใหญ่พบการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอในกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และจะเพิ่มขึ้นในประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยประชากรสูง สำหรับประเทศไทย ผลการสำรวจกิจกรรมทางกายโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) พบว่าในปี 2555 ถึงปี 2558คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพออยู่ที่ร้อยละ 66.3 เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในปี 2557 ถึง 2558 จำแนกตามกลุ่มวัยพบว่า กลุ่มที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้นสูงสุด ได้แก่ กลุ่มวัยทำงานโดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 เป็นร้อยละ 75.8 กลุ่มที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.8 ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มผู้สูงอายุโดยเพิ่มจากร้อยละ 66.4 และร้อยละ 67.7 เป็นร้อยละ 66.6 และร้อยละ 68.5 ตามลำดับ ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นกลับพบกิจกรรมทางกายเพียงพอลดลงจากร้อยละ 67.6 เหลือเพียงร้อยละ 64.8
องค์กรอนามัยโลกเน้นย้ำว่าวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉง (Active Lifestyle) สำคัญยิ่งต่อสุขภาพกาย และใจที่ดีการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งให้น้อยที่สุดมีความสำคัญทั้งในมิติของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกัน โดยเฉพาะการมีพัฒนาการที่ดีตลอดช่วงชีวิตของมนุษย์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด์กต่อเนื่องจนถึงเมื่อเข้าสู่วัยชราจะช้วยสร้างความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือดกล้ามเนื้อกระดูกทำงานได้ดีเคลื่อนไหว ประสานงานและทรงตัวได้อย่างสมดุล ลดความเสี่ยงต่อการหกล้มการแตกหักของกระดูกสะโพกและสันหลังรวมทั้งสร้างความสมดุลของร่างกายในการใช้พลังงานช่วยควบคุมน้ำหนักลดโกอาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดและมะเร็งหลาบชนิดโดยเฉพาะมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ และช่วยลดอัตราการเสียชีวิตก่อนวัย
ในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลควนขนุน ก็มีแนวโน้มของกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ลดลงอันเนื่องมาจากกิจกรรมในชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นการใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อเสพสิ่งต่างๆ ที่ต้องใช้เวลาและสมาธิอยู่นิ่งเป็นเวลานานประกอบกับสังคมเมืองประชาชนมีภาระกิจมากจากกการสังเกตของชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศเทศบาลตำบลควนขนุนจากประชากรสิบคนจะมีกิจกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์น้อยกว่า 150 นาที ถึง 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทางชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศจึงมีความจำเป็นจะให้ประชาชนในพื้นที่ได้ออกกำลังกายด้วยการใช้เสียงเพลงและกีฬาลีลาศมาเพิ่มกิจกรรมทางกายเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะเนือยนิ่งของประชาชนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์
- 2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง
- 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
- 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ
- กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย
- กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 150 นาที ต่อสัปดาห์ หรือร้อยละ 80
2.จำนวนประชาชนในพื้นที่เทสบาลตำบลควนขนุนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
3.คนในชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ
วันที่ 24 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกีฬาลีลาส
-ความสำคัญของกีฬาลีลาศ
-กีฬาลีลาศต่อการเคลื่อนไหวร่างกาย
-กีฬาลีลาศทำให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์และมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น
-กีฬาลีลาศช่วยชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหินสูง ไขมัน และหลอดเลือดสมอง
2.ฝึกกีฬาลีลาศ
-ขั้นตอนการฝึก
-เทคนิคและทักษะ
-ทักษะในการสื่อสาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีความสุขอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถรวมกลุ่มเพื่อจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
40
0
2. กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย
วันที่ 13 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- ให้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีเพื่อการขยับกาย
-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับดนตรี
(1) ดนตรีสามารถช่วยเพิ่มอัตราการหายใจ
(2) การฟังดนตรีขณะออกกำลังกายช่วยเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อในการทำซิกอัพและการดันพื้น
(3) เพลงช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหวและกดดันสมองให้ตื่อนตัว ส่งผลให้ออกกำลังกายได้นานขึ้นและหนักขึ้น
(4) การร้องเพลงยังช่วยชะลอความชรา และช่วยให้อายุยืน
(5) การร้องเพลง ทำให้ระบบการหายใจ ระบบการขับถ่าย ระบบการหมุนเวียนของโลหิตดีขึ้น ทำให้เกิดความสมดุลของร่างกายและใจ
-การฝึกร้องเพลง
(1) เพลงจังหวะเร็ว
(2) เพลงจังหวะช้า
(3) เพลงสำหรับการเต้นกีฬาลีลาศ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสุข สนุกสนาน ร่างกายและจิตใจแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
30
0
3. กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
เดินถือป้ายและแจกเอกสารรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศาบาลตำบลควนขนุน หันมาสนใจการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จากเทสบาลตำบลควนขนุน ไปทั้ง 4 ชุมชนในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนให้ความสนใจ และตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น
40
0
4. พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย
วันที่ 16 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบถึงการที่จะดำเนนิงานตามโครงการต่อไป
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลควนขนุน ให้ความสนใจและกระตือรือร้นที่จพออกกำลังเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้สุขภาพร่างกายดีขึ้น ลดน้ำหนักส่วนเกินลงได้ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์แข็งแรง อายุยืน ร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย และประชาชนต้องการให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ หรือร้อยละ 80
40.00
40.00
2
2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : 2.ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมัน และหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 50
50.00
85.00
3
3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 65
65.00
85.00
4
3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 65
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ (2) 2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง (3) 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย (4) 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย (2) กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ (3) กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย (4) กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
รหัสโครงการ 61L 7573-08 ระยะเวลาโครงการ 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
เกิดกลุ่มคนรัดเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ
การตั้งชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ
มีการดำเนินการกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
เกิดกลุ่มการออกกำลังกาย
การรวมกลุ่ม
ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
มีการจัดกิจกรรมต่เนื่อง
การจัดกิจกรรมของกลุ่ม
มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยกระบวนการกลุ่ม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61L 7573-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธิติ สิทธิศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ ”
ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายธิติ สิทธิศักดิ์
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61L 7573-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61L 7573-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีกิจกรรมทางกายไม่เเพียงพอของคนมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลก โดยส่วนใหญ่พบการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอในกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และจะเพิ่มขึ้นในประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยประชากรสูง สำหรับประเทศไทย ผลการสำรวจกิจกรรมทางกายโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) พบว่าในปี 2555 ถึงปี 2558คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพออยู่ที่ร้อยละ 66.3 เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในปี 2557 ถึง 2558 จำแนกตามกลุ่มวัยพบว่า กลุ่มที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้นสูงสุด ได้แก่ กลุ่มวัยทำงานโดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 เป็นร้อยละ 75.8 กลุ่มที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.8 ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มผู้สูงอายุโดยเพิ่มจากร้อยละ 66.4 และร้อยละ 67.7 เป็นร้อยละ 66.6 และร้อยละ 68.5 ตามลำดับ ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นกลับพบกิจกรรมทางกายเพียงพอลดลงจากร้อยละ 67.6 เหลือเพียงร้อยละ 64.8
องค์กรอนามัยโลกเน้นย้ำว่าวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉง (Active Lifestyle) สำคัญยิ่งต่อสุขภาพกาย และใจที่ดีการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งให้น้อยที่สุดมีความสำคัญทั้งในมิติของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกัน โดยเฉพาะการมีพัฒนาการที่ดีตลอดช่วงชีวิตของมนุษย์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด์กต่อเนื่องจนถึงเมื่อเข้าสู่วัยชราจะช้วยสร้างความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือดกล้ามเนื้อกระดูกทำงานได้ดีเคลื่อนไหว ประสานงานและทรงตัวได้อย่างสมดุล ลดความเสี่ยงต่อการหกล้มการแตกหักของกระดูกสะโพกและสันหลังรวมทั้งสร้างความสมดุลของร่างกายในการใช้พลังงานช่วยควบคุมน้ำหนักลดโกอาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดและมะเร็งหลาบชนิดโดยเฉพาะมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ และช่วยลดอัตราการเสียชีวิตก่อนวัย
ในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลควนขนุน ก็มีแนวโน้มของกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ลดลงอันเนื่องมาจากกิจกรรมในชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นการใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อเสพสิ่งต่างๆ ที่ต้องใช้เวลาและสมาธิอยู่นิ่งเป็นเวลานานประกอบกับสังคมเมืองประชาชนมีภาระกิจมากจากกการสังเกตของชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศเทศบาลตำบลควนขนุนจากประชากรสิบคนจะมีกิจกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์น้อยกว่า 150 นาที ถึง 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทางชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศจึงมีความจำเป็นจะให้ประชาชนในพื้นที่ได้ออกกำลังกายด้วยการใช้เสียงเพลงและกีฬาลีลาศมาเพิ่มกิจกรรมทางกายเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะเนือยนิ่งของประชาชนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์
- 2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง
- 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
- 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ
- กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย
- กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 150 นาที ต่อสัปดาห์ หรือร้อยละ 80 2.จำนวนประชาชนในพื้นที่เทสบาลตำบลควนขนุนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 3.คนในชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกีฬาลีลาส -ความสำคัญของกีฬาลีลาศ -กีฬาลีลาศต่อการเคลื่อนไหวร่างกาย -กีฬาลีลาศทำให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์และมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น -กีฬาลีลาศช่วยชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหินสูง ไขมัน และหลอดเลือดสมอง 2.ฝึกกีฬาลีลาศ -ขั้นตอนการฝึก -เทคนิคและทักษะ -ทักษะในการสื่อสาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีความสุขอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถรวมกลุ่มเพื่อจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
|
40 | 0 |
2. กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสุข สนุกสนาน ร่างกายและจิตใจแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
|
30 | 0 |
3. กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน |
||
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำเดินถือป้ายและแจกเอกสารรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศาบาลตำบลควนขนุน หันมาสนใจการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จากเทสบาลตำบลควนขนุน ไปทั้ง 4 ชุมชนในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนให้ความสนใจ และตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น
|
40 | 0 |
4. พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย |
||
วันที่ 16 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบถึงการที่จะดำเนนิงานตามโครงการต่อไป
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลควนขนุน ให้ความสนใจและกระตือรือร้นที่จพออกกำลังเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้สุขภาพร่างกายดีขึ้น ลดน้ำหนักส่วนเกินลงได้ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์แข็งแรง อายุยืน ร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย และประชาชนต้องการให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ หรือร้อยละ 80 |
40.00 | 40.00 |
|
|
2 | 2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัด : 2.ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมัน และหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 50 |
50.00 | 85.00 |
|
|
3 | 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 65 |
65.00 | 85.00 |
|
|
4 | 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีรูปร่างสมส่วนเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 65 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ (2) 2.เพื่อชะลอความเจ็บป่วย ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันและหลอดเลือดสมอง (3) 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย (4) 3.เพื่อทำให้รูปร่างของร่างกายได้สัดส่วนสวยงามเหมาะสมกับวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านกิจกรรมทางกาย (2) กิจกรรมทางกายด้วยกีฬาลีลาศ (3) กิจกรรมดนตรีเพื่อการขยับกาย (4) กิจกรรมรณรงค์การเพิ่มกิจกรรมทางกายในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
รหัสโครงการ 61L 7573-08 ระยะเวลาโครงการ 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
เกิดกลุ่มคนรัดเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ
การตั้งชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ
มีการดำเนินการกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
เกิดกลุ่มการออกกำลังกาย
การรวมกลุ่ม
ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
มีการจัดกิจกรรมต่เนื่อง
การจัดกิจกรรมของกลุ่ม
มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยกระบวนการกลุ่ม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ
รหัสโครงการ 61L 7573-08 ระยะเวลาโครงการ 16 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | เกิดกลุ่มคนรัดเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ |
การตั้งชมรมคนรักเสียงเพลงและกีฬาลีลาศ |
มีการดำเนินการกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย | เกิดกลุ่มการออกกำลังกาย |
การรวมกลุ่ม |
ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง | มีการจัดกิจกรรมต่เนื่อง |
การจัดกิจกรรมของกลุ่ม |
มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยกระบวนการกลุ่ม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยดนตรีและกีฬาลีลาศ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61L 7573-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธิติ สิทธิศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......