กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธีราพรตาดำ

ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7257-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,180.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรงคือผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบคือบุหรี่มือสองทั้งที่ประเทศไทยมีการรณรงค์ควบคุมการบริโภคยาสูบเกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2517 แต่ในปี พ.ศ. 2551บุหรี่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า5ล้านคนซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรคโรคเอดส์และไข้มาลาเรียรวมกันและคาดว่าในปีพ.ศ. 2573จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น8ล้านคนต่อปีโดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูบบุหรี่ได้แก่มะเร็งปอดที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทยอีกทั้ง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงานของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจการสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอกและหัวใจวายโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นผิดปกติ ผู้ที่ได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมจะมีโอกาสเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสูงกว่าคนที่ไม่เคยได้รับ 1.3 เท่า และจะมีโอกาสเกิดมะเร็งปอดได้มากขึ้นประมาณ 1.8 เท่าโดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็กหากมารดาตั้งครรภ์สูบบุหรี่หรือได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงเช่นทารกน้ำหนักตัวน้อย คลอดก่อนกำหนดเด็กหากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไหลตายปอดอักเสบติดเชื้อโรคภูมิแพ้โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป สำนักงานสถิติแห่งชาติได้สำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ปี 2557พบว่าจำนวนประชากรมีอายุ ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป54.8 ล้านคนเป็นผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน (ร้อยละ 20.7 )เป็นผู้สูบบุหรี่ประจำ 10 ล้านคน (ร้อยละ 18.2 )สูบนาน ๆ ครั้ง 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 2.5 )ในกลุ่มวัยทำงาน (25 – 59 ปี) มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด (ร้อยละ 23.5 ) รองลงมากลุ่มผู้สูงอายุ (60ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน(15 – 24 ปี) (ร้อยละ 16.6 และ 14.7 ตามลำดับ) ผู้ชายสูบบุหรี่มากกว่าผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ40.5 และ 22 ตามลำดับ)เมื่อเปรียบเทียบกับปี2556พบว่าเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มสูงขึ้นและทุกกลุ่มมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่น้อยลงโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน 15-24 ปี เริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยลงค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่นคือจากปี 2550 เยาวชนเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุ 16.8 ปีในปี 2557 ลดลงเป็นอายุ 15.6 ปีชี้ให้เห็นว่า อายุของนักสูบบุหรี่หน้าใหม่มีอายุน้อยลง จึงต้องมีมาตรการเฝ้าระวังในกลุ่มเยาวชนมากขึ้น และในประเทศไทยมีคนเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่คิดเป็น 12 % ของการตายทั้งหมดรัฐบาลสูญเสียทางเศรษฐกิจกับค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่ถึง 43.6 พันล้านบาท คิดเป็น 0.5% ของ GDP ถ้ายังไม่มีมาตรการใด ๆ ในการป้องกันและเฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่อีกทั้งบุหรี่เป็นเพียงสินค้าชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย แต่เป็นอันตรายต่อทุกคนทั้งที่เป็นผู้สูบบุหรี่ และผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ได้รับควันบุหรี่มือสอง จึงมีความจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่โดยยึดหลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งการดูแลสร้างเสริมสุขภาพการแนะนำให้มาบำบัดจัดระบบเฝ้าระวังไม่ให้กลับไปเสพซ้ำโดยการสร้างแรงจูงใจ การตระหนักในปัญหา ร่วมกันให้คำปรึกษา ติดตาม ดูแล และการให้ความรู้แก่ประชาชนให้สามารถนำไปปฏิบัติจริง โดยเฉพาะการป้องกันที่ดีโดยการสร้างการตระหนัก จูงใจประชาชนเลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพดี ของตนเองและบุคคลรอบด้าน งานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ได้เล็งเห็นถึงปัญหาการสูบบุหรี่ซึ่งยังมีอยู่เป็นจำนวนมากสมควรที่จะต้องดำเนินการแก้ไขจึงได้จัดทำโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้นเนื่องจากบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้นของคนไทยที่สามารถป้องกันได้โดยการช่วยเหลือให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบและป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในสถานที่ทำงานลงทั้งรายเก่าและรายใหม่
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ป้องกันตนเองไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจบุคลากรที่สูบบุหรี่
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่
  3. สำรวจบุคลากรที่จะเข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน
  4. จัดบอร์ดรณรงค์ในวันงดสูบบุหรี่โลก
  5. ค่าวัสดุอื่นๆ
  6. จัดตั้งคลินิคให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ณ งานป้องกันและควบคุมโรค เทศบาลเมืองคอหงส์ โดยจะเปิดคลินิคในทุกๆวันที่ 15 และ 30 ของเดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ปริมาณผู้สูบบุหรี่ในสถานที่ทำงานลดน้อยลง
  2. ผู้สูบบุหรี่เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่ทั้งต่อตนเองและคนรอบข้าง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายจำนวน 50 คน ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 56 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี ๒๕๖๑ โดยจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของบุหรี่ แนวทางในการลด ละ เลิกบุหรี่ และการป้องกันตนเองไม่ให้ไปยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่และยาเสพติดชนิดอื่น ๆ แก่พนักงานจ้างและบุคลากรของเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวนทั้งสิ้น ๕๖ คน ในวันพุธที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมเรารักสงขลา (อนุสรณ์กำนันเอี่ยม ทวีรัตน์) สำนักงานเทศบาลเมืองคอหงส์ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในสถานที่ทำงานลงทั้งรายเก่าและรายใหม่
ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนผู้สูบบุหรี่ที่มีความจำนงเลิกบุหรี่ 50 % ๒. จำนวนผู้แจ้งความจำนงเลิกบุหรี่ สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้อย่างน้อย ร้อยละ ๘๐
25.00 1.00

มีผู้เข้าร่วมและประสงค์จะเลิกบุหรี่จำนวน 1 คน

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด :
50.00 56.00

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 56 คน

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ป้องกันตนเองไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ต่อไป
ตัวชี้วัด :
50.00 56.00

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่ มีผู้เข้าร่วมจำนวน 56 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในสถานที่ทำงานลงทั้งรายเก่าและรายใหม่ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ป้องกันตนเองไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจบุคลากรที่สูบบุหรี่ (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการสูบบุหรี่และการใช้ยาเสพติดชนิดอื่นๆแก่บุคลากรที่สูบบุหรี่ (3) สำรวจบุคลากรที่จะเข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน (4) จัดบอร์ดรณรงค์ในวันงดสูบบุหรี่โลก (5) ค่าวัสดุอื่นๆ (6) จัดตั้งคลินิคให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ณ งานป้องกันและควบคุมโรค เทศบาลเมืองคอหงส์ โดยจะเปิดคลินิคในทุกๆวันที่ 15 และ 30 ของเดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ในสถานที่ทำงาน ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธีราพรตาดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด