กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธีราพรตาดำ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7257-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,660.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อร้ายแรงจากสัตว์สู่คน เกิดการเชื้อเรบีส์ไวรัส (Rabies) เป็นโรคติดต่อในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น คน สุนัข แมว โค ฯลฯ โรคนี้เป็นแล้วจะมีอาการทางระบบประสาท คนหรือสัตว์ที่เป็นโรคนี้ไม่มีทางรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยทุกรายจะต้องตาย จากรายงานการตรวจสุนัขหรือแมวจรจัดในประเทศไทย พบว่ามีอัตราการชุกของโรคนี้อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ถึง 3.0 การแพร่กระจายของโรคนี้สามารถติดต่อได้จากสัตว์ป่วยที่มีเชื้อนี้อยู่ไปยังสัตว์อื่นหรือมนุษย์ทางน้ำลายทั้งจากการกัด ขีดข่วน หรือการเลียบาดแผล จากสถานการณ์การเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ พบผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย เมื่อปี พ.ศ.2555 หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2556 เกิดเหตุการณ์สุนัขจรจัดกัดนักศึกษาและบุคคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 14 คน ซึ่งผลการตรวจพิสูจน์ พบว่าสุนัขตัวดังกล่าวมีพิษสุนัขบ้า และหลังจากพ.ศ.2556 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบันก็มีสุนัขต้องสงสัยในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ได้นำไปตรวจพิสูจน์พบว่ามีเชื้อพิษสุนัขบ้าอย่างต่อเนื่อง จากสถิติการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ พบว่าปี 2557 มีสัตว์ที่พบเชื้อพิษสุนัขบ้าจากสมองทั้ง 20 ตัวอย่าง จากสุนัข 15 ตัวอย่าง โค 5 ตัวอย่างและของเทศบาลเมืองคอหงส์ 4 ตัวอย่างสุนัข 3 ตัวอย่าง โค 1 ตัวอย่าง ปี 2558 มีสัตว์ที่พบเชื้อพิษสุนัขจากสมองทั้งหมด 20 ตัวอย่าง จากสุนัข 16 ตัวอย่าง โค 4 ตัวอย่าง และเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ 3 ตัวอย่าง จากสุนัขทั้ง 3 ตัวอย่าง และปี 2559 มีสัตว์พบเชื้อพิษสุนัขบ้าจากสมอง 26 ตัวอย่าง สุนัข 18 ตัวอย่าง โค 8 ตัวอย่าง และเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ 10 ตัวอย่าง จากสุนัข 7 ตัวอย่าง โค 3 ตัวอย่าง จากข้อมูลปี 2559 จังหวัดสงขลา มีผู้ถูกสัตว์กัด ประมาณปีละ 3,000 ราย (เฉพาะในสถานพยาบาลภาครัฐ) แต่ละรายต้องใช้วัคซีน 4-5 เข็ม (เข็มละ 275 บาท) บางรายต้องใช้อิมมูโนโกลบูลิน(ขวดละ 7,000 – 10,000 บาท) และยังใช้ยาบาดทะยัก เสียค่าใช้จ่ายในการไปทำแผล ค่าเดินทางไปยังสถานพยาบาล การบาดเจ็บทางจิตใจ การขาดงาน นอกจากนี้ยังมีผลทางอ้อมจากการที่สุนัขวิ่งตัดหน้ารถ ทำให้เกิดอุบัติเหตุจราจรบ่อยครั้ง ดังนั้น การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา) และปี 2560 พบเชื้อพิษสุนัขบ้า 4 ตัวอย่าง จากสุนัข งานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ได้ตะหนักถึงความสำคัญของการแพร่กระจายของโรคพิษสุนัขบ้าจากสุนัขและแมวมาสู่คน จึงได้ดำเนินการควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในเขตพื้นที่เทศบาล ซึ่งทุกกิจกรรมที่ดำเนินการจะต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้กรอบกฎหมายที่กำหนดไว้ เช่น การสร้างภูมิโรคจากการให้วัคซีน การลดจำนวนสุนัขจรจัด การควบคุมอัตราการเกิดของสุนัขและแมว ซึ่งเทศบาลมีหน้าที่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 มาตรา 50 (4) ที่กำหนดให้เทศบาลมีหน้าที่ต้องดำเนินการ เพื่อควบคุมและระวังโรคติดต่อเพื่อเป็นการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากสัตว์ งานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อเป็นการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและลดความเสี่ยงของโรคที่เกิดจากสัตว์เลี้ยงในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยงและดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากโรคได้
  2. ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดและควบคุมประชากรสุนัขและแมวในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561
  2. รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและออกหน่วยฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  3. ทำหมันสุนัขและแมว (ทีมทำหมันขอความอนุเคราะห์จากสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลาทไม่มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทน)
  4. จัดอบรมให้ความรู้รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองหวะ (ทวีรัตน์ราษฎร์บำรุง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ปริมาณประชากรสุนัขและแมวจรจัดลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10
  2. ประชาชนในพื้นที่ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากการถูกสุนัขกัด ร้อยละ 50
  3. อัตราการแพร่เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าสู่คนในพื้นที่ลดน้อยลง ร้อยละ 100
  4. ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์มีความรู้ความเข้าใจในโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยงและดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากโรคได้
ตัวชี้วัด : 1. มีประชาชนเข้าร่วมประชาคม จำนวน 50 คน 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ 80
50.00 54.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดและควบคุมประชากรสุนัขและแมวในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์
ตัวชี้วัด : 3. ทำหมันสุนัขและแมว จำนวน 80 ตัว
80.00 0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์
ตัวชี้วัด : 4. ออกให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 1,000 ตัว
1000.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า สามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยงและดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากโรคได้ (2) ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดและควบคุมประชากรสุนัขและแมวในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้สุนัขและแมวได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561 (2) รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและออกหน่วยฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (3) ทำหมันสุนัขและแมว (ทีมทำหมันขอความอนุเคราะห์จากสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลาทไม่มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทน) (4) จัดอบรมให้ความรู้รณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองหวะ (ทวีรัตน์ราษฎร์บำรุง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธีราพรตาดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด