กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการดูแลผู้ป่วยเฉพาะรายกรณีติดบ้านติดเตียง เช่น มีแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ให้อาหารสายยาง คาสายสวนปัสสาวะ ระหว่างวันที่ 12,17,19,24,26 กรกฎาคม 2561 ณ บ้านผู้ป่วยกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียงในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน 10 ราย เป็นการไปสอนให้ข้อมูล ความรู้การดูแลในเรื่องโภชนาการ/การดูแลป้องกันการเกิดแผลกดทับ/การดูแลด้านกายภาพบำบัด ให้กับผู้ดูแลหลักที่บ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย
ตัวชี้วัด : 1. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการดูแลผู้ป่วยติดเตียงแก่ผู้ดูแลให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องด้วยความมั่นใจและปลอดภัย ร้อยละ 100
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการดูแลผู้ปวยติดเตียงแก่ผู้ดูแลให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องและปลอดภัยในเรื่องการดูแลอุปกรณ์ที่ติดตัวของผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถสร้างเครือข่ายเพื่อช่วยเหลือ เกิดความยั่งยืนในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว (2) ติดตามประเมินผลทักษะที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh