กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุน
วันที่อนุมัติ 17 พฤศจิกายน 2558
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2558 - 31 ธันวาคม 2559
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,025.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.คลองหลา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.882,100.31place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล และกระทรวงสาธารณสุขในการจัดตั้งและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยมีเทศบาล / องค์การบริหารส่วนตำบล เข้าร่วมโครงการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุนทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้และมติคณะกรรมการ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่นหรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพ ผ่านกลไกการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ในรูปแบบคณะกรรมการบริหารกองทุน
ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในพื้นที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างเรียบร้อยในการประชุมปฏิบัติการวางแผนการดำเนินงานโครงการ จึงจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหลา ประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕59 เพื่อใช้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ การรับรองและพิธีการค่าฝึกอบรมและค่าพิธีการต่างๆ จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ที่จำเป็นมาจ่ายเป็น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการในการประชุมจ่ายเป็นค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการ ตัวแทนชุมชนได้รับการพัฒนาความรู้เพื่อให้ดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ ผู้แทนชุมชน หมู่บ้านได้รับการฝึกอบรม ประชุม ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ ผู้แทนชุมชน หมู่บ้านได้รับการฝึกอบรม ประชุม ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

๑.ประชุมปรึกษาหารือในการดำเนินกิจกรรม
๒.เสนอโครงการงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหลา ๓.เมื่อได้รับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการ ๔.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์เอกสารต่างๆ ในการดำเนินกิจกรรม ๕..ดำเนินงานตามโครงการ ๖.ติดตามประเมินผล ๗.รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการและอนุกรรมการ ผู้แทนชุมชนได้รับการฝึกอบรมประชุมพัฒนาความรู้
2.การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3.การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานโครงการ 4.มีการติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2560 11:03 น.