กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง


“ โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่ ”

ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวนัซเราะห์ วาเดร์

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่

ที่อยู่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2539-02-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2539-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง ซึ่งมีพื้นที่รับผิดชอบ 5 ตำบลและจากการจัดเก็บข้อมูลตามโครงการพัฒนาขีดความสามารถด้านการพัฒนาระบบข้อมูลตำบลแบบมีส่วนร่วมซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ในด้านพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลโต๊ะเด็งจำนวน 5,226 คน มีผู้สูบบุหรี่ 599 คน บุหรี่เป็นประตูแรกของการติดยาเสพติดชนิดอื่นๆ ผู้ที่ติดยาเสพติดเกือบทั้งหมดเริ่มมาจากเสพติดบุหรี่ก่อน โดยเฉพาะผู้ที่ติดบุหรี่เมื่อตอนอายุน้อยและจากสถานการณ์ในพื้นที่การสูบบุหรี่ในเด็กชั้นประถมมีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากที่สุด คือมีเพื่อนหรือคนรู้จักสอนให้สูบบุหรี่ และการมีคนในครอบครัวสูบบุหรี่ รวมถึงการถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ เด็กขาดความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของบุหรี่ ต้องการแสดงพฤติกรรมต่อต้านสังคม การเลียนแบบจากสื่อภาพยนตร์ต่างๆ ที่ทำให้เด็กถูกชักจูงได้ง่าย ซึ่งที่ผ่านมาการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง เช่นปัญหาทางช่องปาก ทำให้ฟันสกปรก เปลี่ยนสี มีกลิ่นปาก เหงือกอักเสบ และเสี่ยงต่อมะเร็งช่องปาก อาจทําให้เกิดมะเร็งปอดและอวัยวะอื่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อีกทั้งควันบุหรี่ยังทําให้เกิดโรคบาง โรค เช่นโรคหอบหืด หรือโรคภูมิแพ้มีอาการกําเริบขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็งจึงมีความพยายามที่จะรณรงค์เพื่อควบคุมการสร้างภูมิคุ้มกันไม่สูบบุหรี่ให้กับเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งท่ามกลางสังคมบริโภค นิยมและวัตถุนิยม ทั้งนี้เพราะเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สําคัญของธุรกิจบุหรี่ที่มุ่งแสวหากําไรโดยการเพิ่ม นักสูบหน้าใหม่ในกลุ่มเยาวชนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนนับเป็นสถาบันสังคมที่มีส่วนสําคัญอย่างมากในการ ช่วยสกัดกั้นอิทธิพลของธุรกิจบุหรี่ในการคุกคามวิถีชีวิตของเด็กและเยาวชนและเป็นที่คาดหวังในการแสดง บทบาทพัฒนาทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ สังคมและจิตใจและการปกป้องเด็กและเยาวชนให้ปลอดจากบุหรี่ ทั้งฐานะผู้เสพและผู้รับได้ควันบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดอัตราการสูบในนักสูบรายใหม่
  2. ลดอัตราการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง
  3. ร่วมสร้างเครือข่ายรณรงค์ ละ เลิก บุหรี่ในโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายของสารเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ เกิดความตระหนัก และป้องกันการสูบบุหรี่ในกลุ่มเด็กนักเรียน เยาวชนและกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ
๒ สามารถลดปริมาณของผู้สูบบุหรี่และมาตรการในการเฝ้าระวังการป้องกันลดนักสูบหน้าใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายของสารเสพติด

วันที่ 1 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ประชาสัมพันธ์โครงการ -ลงทะเบียน -พิธิเปิดโครงการ -อบรมให้ความรู้ -ฝึกปฎิบัติ แยกประเภทของสารเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากสารเสพติดชนิดต่างๆ 

 

170 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดอัตราการสูบในนักสูบรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ75ครัวเรือน
0.00

 

2 ลดอัตราการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
0.00

 

3 ร่วมสร้างเครือข่ายรณรงค์ ละ เลิก บุหรี่ในโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดอัตราการสูบในนักสูบรายใหม่ (2) ลดอัตราการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง (3) ร่วมสร้างเครือข่ายรณรงค์ ละ เลิก บุหรี่ในโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายของสารเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังเยาวชนลดนักสูบหน้าใหม่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2539-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแวนัซเราะห์ วาเดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด