โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสีตีรอกีเยาะ อาเซ็งบาราแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด่วนของประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย หากผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง จะก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร จากสถิติประเทศไทย พบว่า ประมาณร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและ ครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ
ปัจจุบัน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาประเทศ จากรายงานขององค์การอนามัยในปี พ.ศ. 2551 พบว่า ทุกปีทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิต จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประมาณ 36 ล้านคน (ร้อยละ 63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี จะเห็นได้ว่า ในช่วงปีที่ผ่านมา องค์กรระดับชาติ ไม่ว่าจะเป็น องค์การอนามัยโลก องค์การสหประชาชาติ ธนาคารโลก และรัฐบาลจากประเทศต่างๆ ล้วนให้ความสำคัญต่อการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว เกิดเป็นเครือข่าย ระดับนานาชาติขึ้น โดยเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์โลกในเรื่องการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ การลดอัตรา การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ร้อยละ 25 ภายในปี พ.ศ. 2568
สถานการณ์ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทำนบ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลาปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 143 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 245 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ดีคิดเป็นร้อยละ 11.30และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ดีคิดเป็น ร้อยละ 13.06 ซึ่งจะพบว่าคนไข้ควบคุมได้ไม่ดีเท่าทีควร ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ในอนาคต จึงจำเป็นที่ต้องฟื้นฟูความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในภาวะปกติเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้
ดังนั้นเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังในผู้ป่วย รพ.สต.บ้านทำนบจึงหาแนวทางในการให้ความรู้/ฟื้นฟู เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อสร้างความเข้าใจถึง สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรค พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอย่างเหมาะสม ใช้ยาอย่างเหมาะสม รู้จักผ่อนคลายอารมณ์ และออกกำลังกายเป็นประจำ อันเป็นปัจจัยสำคัญของการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางรพ.สต.บ้านทำนบจึงได้จัดทำโครงการการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้ผู้ป่วยปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง
- เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน
- สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น
2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
2.1 ประชุมเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ และอสม. เพื่อชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
2.2 เสนอโครงการเพื่อให้ประธานอนุมัติ
2.3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ส่งกลับรับยารพ.สต.
2.4 จัดอบรมสาธิตเมนูอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานให้กับผู้ดูแล
2.4 ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
6.1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น
6.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
6.3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
160
0
2. สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
2.1 ประชุมเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ และอสม. เพื่อชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
2.2 เสนอโครงการเพื่อให้ประธานอนุมัติ
2.3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ส่งกลับรับยารพ.สต.
2.4 จัดอบรมสาธิตเมนูอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานให้กับผู้ดูแล
2.4 ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
6.1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น
6.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
6.3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
106
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง (2) เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน (2) สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสีตีรอกีเยาะ อาเซ็งบาราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสีตีรอกีเยาะ อาเซ็งบาราแม
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด่วนของประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย หากผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง จะก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร จากสถิติประเทศไทย พบว่า ประมาณร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและ ครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ ปัจจุบัน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาประเทศ จากรายงานขององค์การอนามัยในปี พ.ศ. 2551 พบว่า ทุกปีทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิต จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประมาณ 36 ล้านคน (ร้อยละ 63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี จะเห็นได้ว่า ในช่วงปีที่ผ่านมา องค์กรระดับชาติ ไม่ว่าจะเป็น องค์การอนามัยโลก องค์การสหประชาชาติ ธนาคารโลก และรัฐบาลจากประเทศต่างๆ ล้วนให้ความสำคัญต่อการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว เกิดเป็นเครือข่าย ระดับนานาชาติขึ้น โดยเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์โลกในเรื่องการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ การลดอัตรา การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ร้อยละ 25 ภายในปี พ.ศ. 2568 สถานการณ์ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทำนบ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลาปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 143 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 245 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ดีคิดเป็นร้อยละ 11.30และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ดีคิดเป็น ร้อยละ 13.06 ซึ่งจะพบว่าคนไข้ควบคุมได้ไม่ดีเท่าทีควร ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ในอนาคต จึงจำเป็นที่ต้องฟื้นฟูความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในภาวะปกติเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้ ดังนั้นเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังในผู้ป่วย รพ.สต.บ้านทำนบจึงหาแนวทางในการให้ความรู้/ฟื้นฟู เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อสร้างความเข้าใจถึง สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรค พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอย่างเหมาะสม ใช้ยาอย่างเหมาะสม รู้จักผ่อนคลายอารมณ์ และออกกำลังกายเป็นประจำ อันเป็นปัจจัยสำคัญของการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทางรพ.สต.บ้านทำนบจึงได้จัดทำโครงการการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้ผู้ป่วยปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง
- เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน
- สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 160 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น 3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน |
||
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ2.1 ประชุมเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ และอสม. เพื่อชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
2.2 เสนอโครงการเพื่อให้ประธานอนุมัติ
2.3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ส่งกลับรับยารพ.สต. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น6.1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 6.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น 6.3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
|
160 | 0 |
2. สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล |
||
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ2.1 ประชุมเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ และอสม. เพื่อชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
2.2 เสนอโครงการเพื่อให้ประธานอนุมัติ
2.3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ส่งกลับรับยารพ.สต. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น6.1 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 6.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่เกิดโรคภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น 6.3 ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
|
106 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 160 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้ให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง (2) เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้ป่วยความดันเบาหวาน (2) สาธิตเมนูอาหารให้แกผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง ลดภาวะแทรกซ้อน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L8411-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสีตีรอกีเยาะ อาเซ็งบาราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......