กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบโรคเรื้อรัง ในคลินิก DPAC โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อย
รหัสโครงการ 61-L3320-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อย
วันที่อนุมัติ 16 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 29,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.687,99.948place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 83 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
83.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของอาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อย เมื่อปี 2560 ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปของกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง พบจำนวนผุ้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวนเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมบ้านสะพานข่อย ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงจัดทำโครงการปรับพฤติกรรมเพื่อลดภัยเงียบในคลินิกDPAC เพื่อให้ประชาชนความรู้และสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

83.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน อสม.แกนนำครอบครัว 2.ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย แจ้งวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน แจ้งประชุมประจำเดือนของ อสม. 3.จัดเตรียมเอกสารและสื่อ 4.รับสมัครเข้าร่วมโครงการ 5.ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 1ครั้ง จำนวน 1วัน 6.คัดเลือกผุ้สมัครที่เข้าร่วมเฃโครงการ จำนวน 5 คนเป็นวิทยากรเครือข่ายในการดำเนินงานคลินิก DPAC 7.จัดตั้งคลินิกDPAC ในสถานบริการ 8.ประสานวิทยากรเครือข่ายมาร่วมในคลินิก 9.นัดกลุ่มเป้าหมายมาติดตามความก้าวหน้าในคลินิก 4ครั้งๆละ 3.5 ชั่วโมง 10.ประเมิณผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโปรแกรมคลินิก DPACมีความรู้อย่างต่อเนื่อง 100% 2.กลุ่มเป้าหมายที่มีค่า ความดัน ค่าระดับน้ำตาลในกระแสเลือด ลดลง 90% 3.มีการจัดตั้งคลินิก DPAC

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2561 11:00 น.