โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2560 ถึง 16 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2560 - 16 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม การก้าวสู่ทศวรรษใหม่ “ทศวรรษแห่งนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐาน” ของประเทศไทยที่ยังคงยืนยันในทิศทางการพัฒนาโดยการเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและต้องเห็นประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนด้วยความตั้งใจเต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีมีศรัทธาในการพัฒนา ซึ่งในทศวรรษใหม่จะรวมกระบวนการพัฒนาสุขภาพอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีหัวใจของความสำเร็จอยู่ที่การพัฒนาคนในชุมชน
ทศวรรษที่ 4 ของงานสาธารณสุขมูลฐาน(พ.ศ.2552-2562 ) อันเป็นทศวรรษแห่งการสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชนโดยชุมชน เพื่อให้เป็นกลไกหลักสำหรับสร้างสังคมใหม่ที่มีคุณภาพโดยมีการเบนเข็มการพัฒนาจากวิธีการให้บริการ (SERVICE - APPROACH) ไปเป็นวิถีการพัฒนา (DEVELOPMENT -APPROACH) ประกอบกับการสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆทางสุขภาพโดยชุมชนเป็นผู้วางแผน และกระบวนการต่างๆ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและบริบทของพื้นที่อาศัยทุกภาคส่วน ร่วมคิด ร่วมวางแผน แก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในชุมชนโดยชุมชนและส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้บังเกิดขึ้น
กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (STRATEGIC ROUTE MAP) นับว่าเป็นหนึ่งนวัตกรรมทางวิชาการที่สามารถส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนได้ โดยที่ทุกคนและองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่ควรที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจร่วมกันในอันที่จะปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิถีชีวิต วิธีการทำงาน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในทุก ๆ ด้าน อย่างยั่งยืน
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง จึงได้มอบหมายให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM)พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนอันจะทำให้ยุทธศาสตร์และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เหมาะสมกับบริบทพื้นที่และมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
57
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพและสุขภาวะของตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัด ปัตตานี
6.2 มีแผนที่ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพที่ครอบคลุมใน 4ด้าน (ระดับประชาชน ภาคีเครือข่าย กระบวนการและรากฐาน)และครอบคลุม 5กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
6.3 แผนที่ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพได้รับการบรรจุลงในข้อบังคับของแผนชุมชนของตำบลตุยง
อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี
6.4 เกิดกระบวนการตามโครงการ/ กิจกรรม ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของตำบลตุยง อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้
ขั้นเตรียมการ
1. ได้มีการประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน 7 มีนาคม 2560
2. มีการสรุปข้อมูล/ ปัญหาของแต่ละพื้นที่ 7 มีนาคม 2560
ขั้นดำเนินการ
1. มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
คณะทำงาน และทีมงานวิทยากร (FOCUS GROUP) 1 วัน (ครู ก)
2. มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณสุขให้กับกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT) 2 วัน ในวันที่
13-14 มีนาคม 2560
3. มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณสุขให้กับกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนสรุป (STRATEGIC LINGAGE MANAGEMENT)
พร้อมมอบเกียรติบัตร 2 วัน ในวันที่ 15-16 มีนาคม 2560
4. มีการรวบรวมเอกสาร/สรุปกระบวนการ/สรุปเอกสารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์
ตารางการประชุม อบรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะ
แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตำบล..ตุยง..... อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี ปี 2560
ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบล..ตุยง....อำเภอหนองจิก...จังหวัดปัตตานี.......
วันที่ 13-16 มีนาคม 2560
อบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT) 13-14 มีนาคม 2560
13 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.00 น. ประธานเปิดพิธี
09.00 - 12.00 น. ความเป็นมา ความสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
ในระบบการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. สุขภาวะของประชาชนในอดีต ปัจจุบันและอนาคตกับการจัดทำแผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00 - 17.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่1)
- ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์บริบทหรือประเมินสถานการณ์ของพื้นที่
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
14 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่1 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์บริบทหรือประเมินสถานการณ์ของพื้นที่
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
09.30 - 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่2)
- ขั้นตอนที่ 2 กำหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา(Destination Statement)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 2 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 2 กำหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา(Destination Statement)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
14.30 - 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16.30 – 17.00น. สรุปการอบรมและปิดการอบรม
(หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา เช้า 10.30–10.40 น. บ่าย เวลา 14.30 – 14.40 น.)
อบรมเชิงปฏิบัติการขั้นตอนสรุป (STRATEGIC LINGAGE MANAGEMENT) 15-16 มีนาคม 2560
15 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
09.30 - 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 4)
- ขั้นตอนที่4 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00- 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 4 ต่อ)
- ขั้นตอนที่4 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 – 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 5)
- ขั้นตอนที่5 การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์จาก SLM และการกำหนดตัวชี้วัด
ผลงาน โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
นายซูฮัยมี ยือแร เจ้าหน้าที่ถ่ายรูปและช่างเทคนิค
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 6)
- ขั้นตอนที่6 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการย่อยหรือแผนปฏิบัติการ
(Mini-SLM) โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00- 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 6 ต่อ)
- ขั้นตอนที่6 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการย่อยหรือแผนปฏิบัติการ
(Mini-SLM)
- กระบวนการนำเสนอแผนที่ยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนชุมชนและกฏข้อบังคับของท้องถิ่น - กองทุนสุขภาพประจำตำบล แผนชุมชนและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16.30- 17.00 น. พิธีมอบเกียรติบัตร/ ประธานปิดการอบรม
(หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา เช้า 10.30–10.40 น. บ่าย เวลา 14.30–14.40 น.)
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
2.2 เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
2.3 เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและมีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
- เกิดแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) สุขภาพของตำบล
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ........................................................................................
2.4 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม .....................39.................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
กิจกรรมที่ 1.ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน/สรุปข้อมูล ปัญหาของแต่ละพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ และทีมงาน จำนวน 15 คน
สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ระยะเวลา 7 มีนาคม 2560
ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม100 บาทX 15 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าพาหนะ 50บาท X 15 คน เป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงิน 2,250 บาท
กิจกรรมที่ 2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินการอบรมให้กับคณะทำงาน และทีมงาน(วิทยากรครู ก.)
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ และทีมงาน จำนวน 6 คน
สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ระยะเวลา 10 มีนาคม 2560
ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาท X 6 คนเป็นเงิน 600 บาท
ค่าพาหนะ 50 บาท X 6 คน เป็นเงิน 300 บาท
รวมเป็นเงิน 900 บาท
กิจกรรมที่ 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT)
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ ทีมงาน ตัวแทนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชน
จำนวน 36 คน
สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ระยะเวลา 13 - 14 มีนาคม 2560 เป็นเวลา 2 วัน
ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 7,200 บาท
ค่าพาหนะ 50 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 3,600 บาท
ค่าวิทยากร 600 บาท X 7 ชม. X 2 วันเป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าวัสดุในการอบรม เป็นเงิน 5,000 บาท
รวมเป็นเงิน 24,200 บาท
กิจกรรมที่ 4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนสรุป (SLM) พร้อมมอบเกียรติบัตร
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการ ทีมงาน ตัวแทนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชนจำนวน 36 คน
สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ระยะเวลา 15 - 16 มีนาคม 2560 เป็นเวลา 2 วัน
ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาทX36 คน X 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ค่าพาหนะ 50 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 3,600 บาท
ค่าวิทยากร 600 บาท X 7 ชม. X 2 วันเป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าจ้างเหมาพิมพ์เอกสารสรุป พร้อมรูปเล่ม 400 หน้า X 15.50 บาท X 5 เล่ม
เป็นเงิน 7,000 บาท
ถ่ายเอกสารสรุป 0.50 บาท X 400 หน้า X 5 เล่ม เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 26,200 บาท
รวมงบประมาณทุกกิจกรรมเป็นเงิน จำนวน 53,550 บาท(ห้าหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
หมายเหตุ: สามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายทุกรายการ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............53,550........... บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............53,550........... บาท คิดเป็นร้อยละ ......100..........
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ...........................0........... บาท คิดเป็นร้อยละ .............0.........
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- ความไม่ตรงต่อเวลาของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น
- เป็นการอบรมหลายวัน ทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนไม่สามารถมารับการอบรมอย่างต่อเนื่องได้
- กลุ่มผู้นำชุมชน ผู้นำด้านต่างๆ มาร่วมทำแผนไม่นาน
แนวทางการแก้ไข
- การจัดกิจกรรมกับกลุ่มวัยรุ่นต้องมีความอดทนสูง ต้องมีการยืดหยุ่นอย่าได้เอาปัญหาของกลุ่มน้อย มากระทบกับกลุ่มมาก
- สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถมาได้ในบางวัน ก็ให้หาตัวแทนมารับการอบรมในวันที่ตัวเองไม่ได้มา
- วิทยากรจัดเวลาเฉพาะให้กับกลุ่มผู้นำในหัวข้อที่ผู้นำต้องทำแผน (ต้องเข้าใจว่าผู้นำบางคนต้องมีภารกิจหลายอย่างในแต่ละวัน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
2
เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและมีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
3
เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตัวชี้วัด : เกิดแผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) สุขภาพของตำบล
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
57
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
57
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี (2) เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี (3) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2560 ถึง 16 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2560 - 16 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม การก้าวสู่ทศวรรษใหม่ “ทศวรรษแห่งนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐาน” ของประเทศไทยที่ยังคงยืนยันในทิศทางการพัฒนาโดยการเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและต้องเห็นประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนด้วยความตั้งใจเต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีมีศรัทธาในการพัฒนา ซึ่งในทศวรรษใหม่จะรวมกระบวนการพัฒนาสุขภาพอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีหัวใจของความสำเร็จอยู่ที่การพัฒนาคนในชุมชน ทศวรรษที่ 4 ของงานสาธารณสุขมูลฐาน(พ.ศ.2552-2562 ) อันเป็นทศวรรษแห่งการสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชนโดยชุมชน เพื่อให้เป็นกลไกหลักสำหรับสร้างสังคมใหม่ที่มีคุณภาพโดยมีการเบนเข็มการพัฒนาจากวิธีการให้บริการ (SERVICE - APPROACH) ไปเป็นวิถีการพัฒนา (DEVELOPMENT -APPROACH) ประกอบกับการสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆทางสุขภาพโดยชุมชนเป็นผู้วางแผน และกระบวนการต่างๆ ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและบริบทของพื้นที่อาศัยทุกภาคส่วน ร่วมคิด ร่วมวางแผน แก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในชุมชนโดยชุมชนและส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้บังเกิดขึ้น กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (STRATEGIC ROUTE MAP) นับว่าเป็นหนึ่งนวัตกรรมทางวิชาการที่สามารถส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนได้ โดยที่ทุกคนและองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่ควรที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจร่วมกันในอันที่จะปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิถีชีวิต วิธีการทำงาน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในทุก ๆ ด้าน อย่างยั่งยืน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง จึงได้มอบหมายให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM)พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนอันจะทำให้ยุทธศาสตร์และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เหมาะสมกับบริบทพื้นที่และมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 57 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพและสุขภาวะของตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัด ปัตตานี
6.2 มีแผนที่ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพที่ครอบคลุมใน 4ด้าน (ระดับประชาชน ภาคีเครือข่าย กระบวนการและรากฐาน)และครอบคลุม 5กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
6.3 แผนที่ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพได้รับการบรรจุลงในข้อบังคับของแผนชุมชนของตำบลตุยง
อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี
6.4 เกิดกระบวนการตามโครงการ/ กิจกรรม ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของตำบลตุยง อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้
ขั้นเตรียมการ
1. ได้มีการประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน 7 มีนาคม 2560
2. มีการสรุปข้อมูล/ ปัญหาของแต่ละพื้นที่ 7 มีนาคม 2560
ขั้นดำเนินการ
1. มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
คณะทำงาน และทีมงานวิทยากร (FOCUS GROUP) 1 วัน (ครู ก)
2. มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณสุขให้กับกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT) 2 วัน ในวันที่
13-14 มีนาคม 2560
3. มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณสุขให้กับกลุ่มเป้าหมายในขั้นตอนสรุป (STRATEGIC LINGAGE MANAGEMENT)
พร้อมมอบเกียรติบัตร 2 วัน ในวันที่ 15-16 มีนาคม 2560
4. มีการรวบรวมเอกสาร/สรุปกระบวนการ/สรุปเอกสารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์
ตารางการประชุม อบรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะ
แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตำบล..ตุยง..... อำเภอหนองจิกจังหวัดปัตตานี ปี 2560
ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบล..ตุยง....อำเภอหนองจิก...จังหวัดปัตตานี.......
วันที่ 13-16 มีนาคม 2560
อบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT) 13-14 มีนาคม 2560
13 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.00 น. ประธานเปิดพิธี
09.00 - 12.00 น. ความเป็นมา ความสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
ในระบบการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. สุขภาวะของประชาชนในอดีต ปัจจุบันและอนาคตกับการจัดทำแผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00 - 17.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่1)
- ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์บริบทหรือประเมินสถานการณ์ของพื้นที่
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
14 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่1 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์บริบทหรือประเมินสถานการณ์ของพื้นที่
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
09.30 - 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่2)
- ขั้นตอนที่ 2 กำหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา(Destination Statement)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 2 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 2 กำหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา(Destination Statement)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
14.30 - 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16.30 – 17.00น. สรุปการอบรมและปิดการอบรม
(หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา เช้า 10.30–10.40 น. บ่าย เวลา 14.30 – 14.40 น.)
อบรมเชิงปฏิบัติการขั้นตอนสรุป (STRATEGIC LINGAGE MANAGEMENT) 15-16 มีนาคม 2560
15 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 - 09.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
09.30 - 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 3 ต่อ)
- ขั้นตอนที่ 3 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับหลัก
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 4)
- ขั้นตอนที่4 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00- 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 4 ต่อ)
- ขั้นตอนที่4 การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16 มีนาคม 2560
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม
08.30 – 12.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 5)
- ขั้นตอนที่5 การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์จาก SLM และการกำหนดตัวชี้วัด
ผลงาน โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
นายซูฮัยมี ยือแร เจ้าหน้าที่ถ่ายรูปและช่างเทคนิค
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 6)
- ขั้นตอนที่6 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการย่อยหรือแผนปฏิบัติการ
(Mini-SLM) โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
15.00- 16.30 น. ขั้นตอนกระบวนการ “สร้างแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์” (ขั้นตอนที่ 6 ต่อ)
- ขั้นตอนที่6 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการย่อยหรือแผนปฏิบัติการ
(Mini-SLM)
- กระบวนการนำเสนอแผนที่ยุทธศาสตร์เข้าสู่แผนชุมชนและกฏข้อบังคับของท้องถิ่น - กองทุนสุขภาพประจำตำบล แผนชุมชนและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายบอรอเฮง ดีเยาะ สาธารณสุขอำเภอยะรัง
16.30- 17.00 น. พิธีมอบเกียรติบัตร/ ประธานปิดการอบรม
(หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา เช้า 10.30–10.40 น. บ่าย เวลา 14.30–14.40 น.)
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 2.2 เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 2.3 เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
- ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและมีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
- เกิดแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) สุขภาพของตำบล
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ........................................................................................ 2.4 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม .....................39.................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
กิจกรรมที่ 1.ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน/สรุปข้อมูล ปัญหาของแต่ละพื้นที่
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ และทีมงาน จำนวน 15 คน
สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง
ระยะเวลา 7 มีนาคม 2560
ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม100 บาทX 15 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าพาหนะ 50บาท X 15 คน เป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงิน 2,250 บาท
กิจกรรมที่ 2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินการอบรมให้กับคณะทำงาน และทีมงาน(วิทยากรครู ก.)
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ และทีมงาน จำนวน 6 คน สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ระยะเวลา 10 มีนาคม 2560 ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาท X 6 คนเป็นเงิน 600 บาท ค่าพาหนะ 50 บาท X 6 คน เป็นเงิน 300 บาท
รวมเป็นเงิน 900 บาท กิจกรรมที่ 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนแรก (DISTINATION STATEMENT)
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกองทุนฯ ทีมงาน ตัวแทนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชน
จำนวน 36 คน สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ระยะเวลา 13 - 14 มีนาคม 2560 เป็นเวลา 2 วัน ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 7,200 บาท ค่าพาหนะ 50 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 3,600 บาท ค่าวิทยากร 600 บาท X 7 ชม. X 2 วันเป็นเงิน 8,400 บาท ค่าวัสดุในการอบรม เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 24,200 บาท กิจกรรมที่ 4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในขั้นตอนสรุป (SLM) พร้อมมอบเกียรติบัตร
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการ ทีมงาน ตัวแทนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชนจำนวน 36 คน สถานที่ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ระยะเวลา 15 - 16 มีนาคม 2560 เป็นเวลา 2 วัน ค่าใช้จ่าย ค่าอาหารกลางวันอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 บาทX36 คน X 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท ค่าพาหนะ 50 บาท X 36 คน X 2 วันเป็นเงิน 3,600 บาท ค่าวิทยากร 600 บาท X 7 ชม. X 2 วันเป็นเงิน 8,400 บาท ค่าจ้างเหมาพิมพ์เอกสารสรุป พร้อมรูปเล่ม 400 หน้า X 15.50 บาท X 5 เล่ม
เป็นเงิน 7,000 บาท ถ่ายเอกสารสรุป 0.50 บาท X 400 หน้า X 5 เล่ม เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 26,200 บาท รวมงบประมาณทุกกิจกรรมเป็นเงิน จำนวน 53,550 บาท(ห้าหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
หมายเหตุ: สามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายทุกรายการ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............53,550........... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............53,550........... บาท คิดเป็นร้อยละ ......100.......... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ...........................0........... บาท คิดเป็นร้อยละ .............0.........
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี /• มี ปัญหา/อุปสรรค
- ความไม่ตรงต่อเวลาของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น - เป็นการอบรมหลายวัน ทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนไม่สามารถมารับการอบรมอย่างต่อเนื่องได้ - กลุ่มผู้นำชุมชน ผู้นำด้านต่างๆ มาร่วมทำแผนไม่นาน
แนวทางการแก้ไข
- การจัดกิจกรรมกับกลุ่มวัยรุ่นต้องมีความอดทนสูง ต้องมีการยืดหยุ่นอย่าได้เอาปัญหาของกลุ่มน้อย มากระทบกับกลุ่มมาก
- สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถมาได้ในบางวัน ก็ให้หาตัวแทนมารับการอบรมในวันที่ตัวเองไม่ได้มา - วิทยากรจัดเวลาเฉพาะให้กับกลุ่มผู้นำในหัวข้อที่ผู้นำต้องทำแผน (ต้องเข้าใจว่าผู้นำบางคนต้องมีภารกิจหลายอย่างในแต่ละวัน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
|
|||
2 | เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและมีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น |
|
|||
3 | เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด : เกิดแผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) สุขภาพของตำบล |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 57 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 57 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพให้กับสมาชิกองค์กร
ทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี (2) เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะในกระบวนการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุขให้กับสมาชิกองค์กรทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี (3) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพจากทุกภาคส่วนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์(SRM) พัฒนาสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......