กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลกาลูปัง

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4155-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4155-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์และสังคม เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญและอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิต หากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสมหรือการได้รับข้อมูลการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้างที่ถูกต้อง ก็อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่เหมาะสมได้ ดังนั้นการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์และการศึกษาจะส่งผลให้วัยรุ่นได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัวและเกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้เช่นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสมปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศเป็นต้นอีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการสนับสนุนจากผู้ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลากรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เพศสัมพันธ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ จากการประเมินและค้นหาปัญหาของวัยรุ่นในตำบลกาลูปัง พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ในเรื่องของเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลทักษะการใช้ชีวิตซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพประจำปี 2561 เพื่อเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัยการปฏิบัติตัวและทักษะการใช้ชีวิตโดยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเมื่อสิ้นสุดโครงการผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤตและก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณค่าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการ 2. เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รู้จักวิธีดูแล สุขอนามัย3. เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ , ตั้งเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ในการดูแลรักษาสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่าง ๆ สุขอนามัย การปฏิบัติตัวการรู้จักใช้ทักษะชีวิตทางสังคมที่เหมาะสมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่บุคคลในวัยเดียวกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ , ตั้งเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ในการดูแลรักษาสุขภาพ

วันที่ 30 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.สภาเด็กและเยาวชนตำบลกาลูปังสำรวจ และรวบรวมข้อมูลกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ตำบลกาลูปัง 2.รับลงทะเบียนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม และคัดเลือกตัวแทนหมู่บ้านละ 10 คน เพื่อดำเนินกิจกรรมนำร่องในปีแรก) 3.จัดอบรม ให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4.ต้ังเครือข่ายวัยรุ่น วัยใส ตำบลกาลูปัง โดยสภาเด็กและเยาวชน 5.กลุ่มเครือข่ายมีการประชาสัมพันธ์โค่รงการ และจัดอบรมให้แก่เยาวชนในรุ่นต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใน เกี่ยวกับสภาพร่างกายและจิตใจที่เปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น  และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. กลุ่มเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการใช้อินเตอร์เน็ต  การใช้สื่อออนไลน์ สิ่งเสพติด เพศศึกษา ได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการ 2. เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รู้จักวิธีดูแล สุขอนามัย3. เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่ม
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 2. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ถูกต้อง เหมาะสม ในเรื่องเพศศึกษา สิ่งเสพติด การใช้อินเตอร์เน็ต สื่อออนไลน์ฯลฯ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการ 2. เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รู้จักวิธีดูแล สุขอนามัย3. เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ , ตั้งเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ในการดูแลรักษาสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นวัยใสใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4155-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเด็กและเยาวชนตำบลกาลูปัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด