กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนงนุช ยวงใย

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8413-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยแม่และเด็ก ตำบลบาลอ พบว่า ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบ๕ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐานหญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลบาลอ ย้อนหลัง 3 ปี ที่ผ่านมา ปี 2558,2559 และ 2560 ผลการดำเนินงาน 1.การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 78.46,75.64 และ 82.19 ตามลำดับ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 7๐) 2.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ครั้งแรกครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ 77.78,77.38 และ 77.33 ตามลำดับ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 7๐) 3.Hct ครั้งที่ 3 ร้อยละ 6.15,14.10 และ 10.96 ตามลำดับ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 1๐)
จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
  3. เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ในรพ.สต.บาลอ และคลินิกฝากพิเศษ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและการป้องกันภาวะซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 70 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพ ร้อยละ 70 3.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกิน ร้อยละ 10


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและการป้องกันภาวะซีด

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ค้นหาหญิงตั้งครรภ์โดยแม่อาสา อสม.ในเขตรับผิดชอบ 3.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ แก่ อสม และกลุ่มเป้าหมาย 4.เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆขณะตั้งครรภ์ 5.เยี่ยมหญิงหลังคลอดพร้อมแม่อาสา หรือ อสม.เพื่อประเมินและกระตุ้นการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา 6.จัดทำมุมนมแม่ในรพ.สต.ให้เป็นสัดส่วนเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ขณะมารับบริการในรพ.สต. 7.เยี่ยมหญิงหลังคลอดพร้อมแม่อาสา หรือ อสม.เพื่อประเมินและกระตุ้นการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา 8.จัดทำบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้เรื่องการคลอดก่อนกำหนดและการคลอดบุตรน้ำหนักน้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ได้รับการบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพร้อยละ 70 และมีภาวะซีดไม่เกินร้อยละ10

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพร้อยละ 70
0.00

 

3 เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ในรพ.สต.บาลอ และคลินิกฝากพิเศษ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกิน ร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  เพื่อให้ครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2)  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ (3)  เพื่อลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ในรพ.สต.บาลอ และคลินิกฝากพิเศษ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและการป้องกันภาวะซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์แม่ปลอดภัย ลูกน้อยสุขภาพดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนงนุช ยวงใย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด