กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปัง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโรไวรัส ทำให้มีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และภายในปาก และสร้างความเจ็บปวด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ร่วมกับอาการป่วยอื่น ๆ ด้วย เช่น ไอ เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี แต่สามารถเกิดกับเด็กโตและผู้ใหญ่ได้เช่นกัน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นและหายป่วยภายในเวลาประมาณ 7-10 วัน ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่าร้อยละ 60 เป็นเด็กก่อนวัยเรียน ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากเมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันง่ายโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจโรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น ซึ่งกระจายอยู่ในทุกตำบล ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็กการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้
องค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปังได้เล็งเห็นความสำคัญของสถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปัง ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้ตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันภัยแก่บุตรหลานให้พ้นอันตรายจากการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก , 2. เพื่อเผยแพร่แนะนำ การดูแลสุขภาพ และเฝ้าระวังโรคมือเท้าปาก แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง รวมท้ังส่งเสริมให้มีพฤติกรรมให้ถูกสุขอนามัยเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่นการล้างมือที่ถูกวิธี การรักษาสุขอนามัยและสภาพแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก
  2. สามารถส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้จากการอบรมไปเผยแพร่นะนำ การดูแลสุขภาพ เรื่องโรคมือ เท้า ปาก แก่ชุมชน ครอบครัว
  4. สามารถป้องกัน ควบคุม และลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 29 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมบรรยายโดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง เกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก 2.กิจกรรมตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปัง 3.กิจกรรมสาธิตและแนะนำวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง  พร้อมแนะนำวิธีดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก 4.กิจกรรมร่วมกันทำความสะอาดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อป้องกันโรคมือเท้าปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคมือเท้าปากที่เกิดขึ้นในเด็ก 2.เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปังไม่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปากทุกคน

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก , 2. เพื่อเผยแพร่แนะนำ การดูแลสุขภาพ และเฝ้าระวังโรคมือเท้าปาก แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง รวมท้ังส่งเสริมให้มีพฤติกรรมให้ถูกสุขอนามัยเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่นการล้างมือที่ถูกวิธี การรักษาสุขอนามัยและสภาพแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรคมือเท้าปากฃ 2.ร้อยละ 100 ของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปังไม่ป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก , 2. เพื่อเผยแพร่แนะนำ การดูแลสุขภาพ และเฝ้าระวังโรคมือเท้าปาก แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง รวมท้ังส่งเสริมให้มีพฤติกรรมให้ถูกสุขอนามัยเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่นการล้างมือที่ถูกวิธี การรักษาสุขอนามัยและสภาพแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้โรคมือเท้าปากกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาลูปัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด