กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561 ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟิตรียะห์แดเบาะ

ชื่อโครงการ แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4114-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561



บทคัดย่อ

โครงการ " แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4114-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,988.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ กระทรวงสาธารณสุข มีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน จากสถิติพบว่า อัตราการเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเอะ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี จากร้อยละ ๒๐ ( ๒๐ คน ) ในปี๒๕๕๗ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๒๔.๒๔ ( ๒๔ คน )ในปี ๒๕๕๘ และร้อยละ ๓๔.๑๑ ( ๔๔ คน ) ในปี ๒๕๕๙ ขึ้นสูงเป็นอันดับ ๑ ของอำเภอกรงปินัง ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ ๑๐ จากสถิติที่สูงขึ้นดังกล่าว ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีอัตราเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย คลอด Low Birth Weigth

ดังนั้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเอะ จึงเห็นสมควรให้มีการจัดทำโครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ปี ๒๕๖๑ เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์คือด่านแรก ที่จะพบว่ามีปัญหาซีดระหว่างตั้งครรภ์มากที่สุด อันจะส่งผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์เองและลูกในครรภ์อีกด้วย โดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเอง อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์และประชาสัมพันธ์
  2. พัฒนาศักยภาพของหญิงตั้งครรภ์และแกนนำหมู่บ้าน
  3. กิจกรรมปฏิบัติตามแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ภาวะซีดก่อนคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๑๐ ๒. เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดครบถ้วนทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ ๙๐ ๓. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ ๔. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดดูภาวะโลหิตจางครั้งที่ ๒ คิดเป็นร้อยละ๙๐ ๕. หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ ความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับภาวะซีดและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและบุตรในครรภ์ได้ โดยสามารถทำข้อสอบหลังการอบรมให้ถูกต้องได้ไม่ร้อยกว่าร้อยละ๙๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีหญิงตั้งครภ์ที่มีภาวะซีดใกล้คลอด เพียง 10.52 ลดลงจากปี 2560 ถึง ร้อยละ 2 6

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ (2) พัฒนาศักยภาพของหญิงตั้งครรภ์และแกนนำหมู่บ้าน  (3) กิจกรรมปฏิบัติตามแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4114-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟิตรียะห์แดเบาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด