โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแนตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2561
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแนตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2561 |
รหัสโครงการ | 61-L3029-1-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
วันที่อนุมัติ | 9 มีนาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2561 |
งบประมาณ | 12,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวฟารีด๊ะ ตูแวปูเตะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายแวสะมาแอกาโฮง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.797,101.289place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนจึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน ทำให้ประชาชนนิยมบริโภคอาหารสูงที่ซื้อตามท้องตลาดและรถเร่ ในหมู่บ้านโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ และประชาชนมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตาย อันดับแรกๆ ของจังหวัดปัตตานี ได้แก่ โรคเบาหวาน พบผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 17,567 คน โรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 49,022 คน ผู้ป่วยที่เป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งหมด 47,848 คน ( ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560) ส่วนข้อมูลจำนวนผู้ป่วยในอำเภอยะรัง พบผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 1,557 รายโรคความดันโลหิตสูง 5,089 ราย จำนวนผู้ป่วยที่เป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งหมด 1,092 ราย ส่วนข้อมูลจำนวน ผู้ป่วยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน ตำบลประจัน ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 44 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด 156 ราย
ผู้ป่วยที่เป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งหมด 37 ราย (ที่มา :จากโปรแกรม HDC ณ วันที่ 25/1/2561
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแนตำบลประจัน ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส |
40.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 12.00 | 1 | 12,400.00 | -12,388.00 | |
1 ก.พ. 61 - 30 ก.ย. 61 | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแนตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี2561 | 0 | 12.00 | ✔ | 12,400.00 | -12,388.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 12.00 | 1 | 12,400.00 | -12,388.00 |
1 ประชุมคณะทำงาน เครือข่าย และอสมเพื่อชี้แจงโครงการ 2 จัดเตรียมเอกสาร ประสานงาน และความพร้อมก่อนดำเนินการอบรม 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลักปฏิบัติ 3 อ 2 ส4 ตรวจคัดกรองความดันเบาหวานเพื่อแยกตามสีจราจรปิงปอง 7 สี 5 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและวัดรอบเอว เพื่อหาค่าดัชนีมวลกาย 6 ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
1 ร้อยละ 60 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง 2 ร้อยละ 60 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส 3 ร้อยละ 100 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ระดับปลอดภัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2561 13:43 น.