โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน ”
ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชวลิต มัชฌิมาภิโร ,นางณัณภากุล จิตต์ภักดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
พฤษภาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน
ที่อยู่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5270-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5270-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทุกวันนี้ คนทั่วไปได้รับรู้และตระหนักแล้วว่าประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงวัยไปแล้ว แต่สิ่งที่หลายคนโดยเฉพาะผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการวางแผนและนโยบายอาจคาดไม่ถึงคือ ประชากรไทยกำลังสูงวัยขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ประเทศไทยได้กลายเป็น “สังคมสูงวัย” มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘แล้ว เมื่อสัดส่วนประชากรสูงอายุ (๖๐ปีขึ้นไป) สูงถึงร้อยละ ๑๐ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ ๖๐ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ ๒๐ในปี ๒๕๖๔หรือในอีกเพียง ๗ปีข้างหน้า และคาดว่าจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในอีกไม่ถึง ๒๐ปีข้างหน้านี้เมื่อประชากรอายุ ๖๐ปีขึ้นไป มีสัดส่วนถึงร้อยละ ๒๘ของประชากรทั้งหมดซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรในตำบลวัดขนุน พ.ศ.๒๕๕๙ มีจำนวนประชากรทั้งหมด ๘,๐๒๐ คนมีผู้สูงอายุจำนวน๑,๒๐๓ คน คิดเป็นร้อยละ๑๕ ของประชากรทั้งหมดในตำบล จะเห็นได้ว่ามีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จาก พ.ศ.๒๕๕๘จำนวน๑,๑๐๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๙๘
จากสถานการณ์ดังกล่าวตำบลวัดขนุนมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ก็เป็นพื้นที่ที่ติดต่อกับอำเภอเมืองสงขลา ซึ่งเป็นเมืองเศรษฐกิจในการประกอบอาชีพต่างๆ บุคคลในครอบครัวได้เดินทางไปทำงานและกลับในตอนเย็น ส่งผลให้เกิดปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง การดูแลไม่ดี หรือไม่ได้รับการเอาใจใส่ดูแลอย่างดีและถูกต้อง บทบาทและความสำคัญของผู้สูงอายุในสังคมมักถูกจำกัดให้ลดลง ทั้งนี้เนื่องจากถูกมองว่าสุขภาพไม่แข็งแรง เกิดภาวะความเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย การสื่อสารกับคนทั่วไปทำได้ลำบาก มีผลให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ในบ้าน และมีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีประโยชน์ หมดคุณค่าเป็นภาระให้ลูกหลาน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เคยพึ่งตนเอง หรือเป็นที่พึ่งให้สมาชิกในครอบครัว ต้องเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้รับการช่วยเหลือ และถ้าผู้ใกล้ชิดไม่ให้ความสนใจ จะส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดอาการซึมเศร้าอย่างรุนแรง ถึงขั้นทำร้ายตนเองได้ซึ่งเป็นปัญหาบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดขนุน เป็นองค์กรหนึ่งในชุมชนที่มีบทบาทและหน้าที่ในการพัฒนาสถาบันครอบครัวในลักษณะบูรณาการทุกภาคส่วนที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจที่ดีขึ้น จะช่วยทำให้การมีอายุยืนยาวมีความสุขทั้งทางกาย ใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม กล่าวคือเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับประโยชน์ในสังคมและอย่างมีศักดิ์ศรี ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดขนุน จึงได้จัดโครงการสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง
- เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง และสร้างคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง
๒. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่ดีในการมีสุขภาพดี ทั้งทางกาย ใจ อารมณ์และสังคม
๓. ผู้สูงอายุได้พบปะ พูดคุย และเปลี่ยนความคิดเห็นสร้างสังคมที่ดีและมีความสุขทางสังคมมากขึ้น
๔. สังคมให้ความสำคัญ เห็นคุณค่าของผู้สูงอายุมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายดีขึ้น มีพฤติกรรมทางกายใจ อารมณ์ อยู่ในสังคมมีความสุข มีกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น และผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของตนเอง มีคุณค่าต่อสถานบันครอบครัวมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย ใจที่ดีขึ้น
0.00
0.00
2
เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมทางกาย ใจ อารมณ์ อยู่ในสังคมมีความสุข
0.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น
0.00
4
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของตนเอง มีคุณค่าต่อสถาบันครอบครัวมากขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง และสร้างคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5270-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชวลิต มัชฌิมาภิโร ,นางณัณภากุล จิตต์ภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน ”
ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชวลิต มัชฌิมาภิโร ,นางณัณภากุล จิตต์ภักดี
พฤษภาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5270-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5270-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทุกวันนี้ คนทั่วไปได้รับรู้และตระหนักแล้วว่าประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงวัยไปแล้ว แต่สิ่งที่หลายคนโดยเฉพาะผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการวางแผนและนโยบายอาจคาดไม่ถึงคือ ประชากรไทยกำลังสูงวัยขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ประเทศไทยได้กลายเป็น “สังคมสูงวัย” มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘แล้ว เมื่อสัดส่วนประชากรสูงอายุ (๖๐ปีขึ้นไป) สูงถึงร้อยละ ๑๐ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ ๖๐ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ ๒๐ในปี ๒๕๖๔หรือในอีกเพียง ๗ปีข้างหน้า และคาดว่าจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในอีกไม่ถึง ๒๐ปีข้างหน้านี้เมื่อประชากรอายุ ๖๐ปีขึ้นไป มีสัดส่วนถึงร้อยละ ๒๘ของประชากรทั้งหมดซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรในตำบลวัดขนุน พ.ศ.๒๕๕๙ มีจำนวนประชากรทั้งหมด ๘,๐๒๐ คนมีผู้สูงอายุจำนวน๑,๒๐๓ คน คิดเป็นร้อยละ๑๕ ของประชากรทั้งหมดในตำบล จะเห็นได้ว่ามีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จาก พ.ศ.๒๕๕๘จำนวน๑,๑๐๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๙๘
จากสถานการณ์ดังกล่าวตำบลวัดขนุนมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ก็เป็นพื้นที่ที่ติดต่อกับอำเภอเมืองสงขลา ซึ่งเป็นเมืองเศรษฐกิจในการประกอบอาชีพต่างๆ บุคคลในครอบครัวได้เดินทางไปทำงานและกลับในตอนเย็น ส่งผลให้เกิดปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง การดูแลไม่ดี หรือไม่ได้รับการเอาใจใส่ดูแลอย่างดีและถูกต้อง บทบาทและความสำคัญของผู้สูงอายุในสังคมมักถูกจำกัดให้ลดลง ทั้งนี้เนื่องจากถูกมองว่าสุขภาพไม่แข็งแรง เกิดภาวะความเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย การสื่อสารกับคนทั่วไปทำได้ลำบาก มีผลให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ในบ้าน และมีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีประโยชน์ หมดคุณค่าเป็นภาระให้ลูกหลาน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เคยพึ่งตนเอง หรือเป็นที่พึ่งให้สมาชิกในครอบครัว ต้องเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้รับการช่วยเหลือ และถ้าผู้ใกล้ชิดไม่ให้ความสนใจ จะส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดอาการซึมเศร้าอย่างรุนแรง ถึงขั้นทำร้ายตนเองได้ซึ่งเป็นปัญหาบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดขนุน เป็นองค์กรหนึ่งในชุมชนที่มีบทบาทและหน้าที่ในการพัฒนาสถาบันครอบครัวในลักษณะบูรณาการทุกภาคส่วนที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจที่ดีขึ้น จะช่วยทำให้การมีอายุยืนยาวมีความสุขทั้งทางกาย ใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม กล่าวคือเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับประโยชน์ในสังคมและอย่างมีศักดิ์ศรี ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดขนุน จึงได้จัดโครงการสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง
- เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง และสร้างคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง
๒. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่ดีในการมีสุขภาพดี ทั้งทางกาย ใจ อารมณ์และสังคม
๓. ผู้สูงอายุได้พบปะ พูดคุย และเปลี่ยนความคิดเห็นสร้างสังคมที่ดีและมีความสุขทางสังคมมากขึ้น
๔. สังคมให้ความสำคัญ เห็นคุณค่าของผู้สูงอายุมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายดีขึ้น มีพฤติกรรมทางกายใจ อารมณ์ อยู่ในสังคมมีความสุข มีกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น และผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของตนเอง มีคุณค่าต่อสถานบันครอบครัวมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย ใจที่ดีขึ้น |
0.00 | 0.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมทางกาย ใจ อารมณ์ อยู่ในสังคมมีความสุข |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของตนเอง มีคุณค่าต่อสถาบันครอบครัวมากขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้ประชากรผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านกิจกรรมต่างๆ (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพด้วยตนเอง และสร้างคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างสุขใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยตำบลวัดขนุน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5270-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชวลิต มัชฌิมาภิโร ,นางณัณภากุล จิตต์ภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......