กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561 ”

ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวขวัญหทัย ชูเท้า

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5260-05-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กันยายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5260-05-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กันยายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมไว้ 5 ประเภท ซึ่งได้ระบุให้ประเภทที่ 5 ไว้ในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสาธารณภัย ภัยพิบัติเกิดขึ้นมากมายได้ทุกพื้นที่ของประเทศและยังพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคติดต่อ อุบัติใหม่ อุบัติช้ำมีเพิ่มขึ้น เช่น โรคอุจจาระร่วงอย่างรุนแรง ไทรอยด์ มือบาทเท้าเปื่อยและไข้หวัดนก ฯลฯ ทั้งนี้สาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการได้แก่การเปลี่ยนแปลงของมรสุมและพฤติกรรมของประชาชน การเดินทางเคลื่อนย้ายของประชากร การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ตัวเชื้อโรค ภาวะโลกร้อน ทำให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางและที่พบบ่อยทุกปี คือปัญหาหมอกควันไหม้มาจากประเทศอินโดนีเซียและปัญหาทางน้ำท่วมขัง ซึ่งตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ก็เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและผลกระทบจากโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดต่อนำโดยสัตว์นำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ ยุง ฯลฯ จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในเขตตำบลเปียน ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลเปียน ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้างและให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากการเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติต่างๆด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติตามธรรมชาติ
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปากระบาด
  3. เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวการณ์ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคฉี่หนู โรคอุจจาระร่วง โรคปวดข้อยุงลาย(ซิดุนกุนย่า) โรคไข้เลือดออก ฯลฯ
  4. เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ จากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า อุทกภัย
  5. เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
  6. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ ที่จำเป็นเพียงพอและทันเหตุการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,845
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
      1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
      2. มีการประสานความร่วมมือภาครัฐและประชาชนในการแก้ไขปัญหา
      3. ลดความรุนแรงของปัญหาด้านสาธารณสุข อัตราการป่วยและอัตราการตายลงได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติตามธรรมชาติ
    ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติร้อยละ 90
    0.00

     

    2 เพื่อแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปากระบาด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของจำนวนเด็กที่ได้รับการแก้ปัญหาจากโรคมื้อเท้าปาก
    0.00

     

    3 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวการณ์ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคฉี่หนู โรคอุจจาระร่วง โรคปวดข้อยุงลาย(ซิดุนกุนย่า) โรคไข้เลือดออก ฯลฯ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ได้รับการแก้ปัญหาผลกระทบการระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดต่อต่างๆ
    0.00

     

    4 เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ จากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า อุทกภัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ได้รับการแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาความเดือดร้อน จากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า และภาวะอุทกภัย
    0.00

     

    5 เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับความรู้และดูแลป้องกันตัวเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
    0.00

     

    6 เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ ที่จำเป็นเพียงพอและทันเหตุการณ์
    ตัวชี้วัด : - มีวัสดุ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ที่จำเป็นเพียงพอและทันต่อสถานการณ์
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 8845
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,845
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติตามธรรมชาติ (2) เพื่อแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปากระบาด (3) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวการณ์ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคฉี่หนู โรคอุจจาระร่วง โรคปวดข้อยุงลาย(ซิดุนกุนย่า) โรคไข้เลือดออก ฯลฯ (4) เพื่อแก้ไขปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ จากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า อุทกภัย (5) เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง (6) เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ ที่จำเป็นเพียงพอและทันเหตุการณ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5260-05-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวขวัญหทัย ชูเท้า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด