กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561 ”

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะรอซีดังสะตา

ชื่อโครงการ โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561

ที่อยู่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาองค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความเจริญก้าวหน้านั้นมีบริบทต่างๆในการพัฒนาหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่บุคลากรในองค์กร และประชาชนในท้องถิ่น ให้มีความเป็นอยู่ที่ผาสุก สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นั่นก็เป็นบริบทของการพัฒนาที่เป็นแนวทางหลัก แต่การพัฒนาในบริบทด้านต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นจะบรรลุถึงความหมายของการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบมิได้ หากขาดการเสริมสร้างบริบทด้านความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยขององค์กร ชุมชน และท้องถิ่น ให้มีความสำคัญเท่าเทียมกับการพัฒนาบริบทด้านโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ควบคู่กันไป
อีกทั้งนโยบายบริหารบ้านเมืองสะอาดด้วยมือเราของผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีนายวีรนันทน์เพ็งจันทร์มีนโยบายในการขับเคลื่อนวาระปัตตานี 2560 ได้จัดทำยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน 12 วาระจังหวัด ในการพัฒนาจังหวัดปัตตานีร่วมสร้างปัตตานีเพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวปัตตานี โดยเน้นทุกวาระสำคัญเท่าเทียมกัน ขับเคลื่อนไปพร้อมๆกัน โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งใน 12 วาระที่สำคัญ มีข้อ 1 ที่เกี่ยวข้องและมีความสำคัญ คือ ปัตตานีสะอาด ประกอบด้วย ชุมชน ถนน คูคลอง สถานที่ราชการสถานประกอบการ ร้านอาหาร ตลาดสดมัสยิด และวัดให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ มีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อพัฒนาให้จังหวัดปัตตานีเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภาคใต้ เน้นการมีส่วนร่วมจากประชาชนทุกภาคส่วน ด้วยการอนุมัติให้จัดทำโครงการ ปัตตานีสะอาด ปี ๒๕๖๐ เมืองสะอาดอย่างยั่งยืน ( pattani Green and Clean City) ให้มีการรณรงค์ด้านความสะอาดในสถานที่ราชการ สถานประกอบการ และสถานบริการสาธารณะ ถนนสายหลัก ถนนสายรอง และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เทศบาลเมืองตะลุบัน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญ และตระหนักถึงความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในองค์กร ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเป็นส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดปัตตานี ให้บรรลุผลตามเจตนารมณ์ของ ตะลุบันเมืองสะอาดอย่างยั่งยืน (pattani Green and Clean City) จึงได้จัดทำโครงการ เมืองสวยด้วยมือเรา ประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้นให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดปัตตานี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.1 เพื่อลดปริมาณขยะ ของเสีย ที่ก่อให้เกิดมลภาวะในองค์กร ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2.2เพื่อให้องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น เป็นองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และ น่าทำงาน น่าอยู่ น่าดู น่าชม เป็นที่กล่าวขานของผู้ที่ไดพบเห็น๒.3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์พาหะนำโรคต่างๆ เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ และสัตว์ มีพิษต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๘.๑ปริมาณขยะ ของเสีย ที่ก่อให้เกิดมลภาวะในองค์กร ชุมชน และท้องถิ่น ลดน้อยลง และสูญไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
    ๘.2องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น เป็นองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และน่าทำงาน น่าอยู่ น่าดู น่าชม เป็นที่กล่าวขานของผู้ที่ไดพบเห็น ๘.3 สัตว์พาหะนำโรคต่างๆ เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ และสัตว์มีพิษลดน้อยลง และสูญไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๒.1 เพื่อลดปริมาณขยะ ของเสีย ที่ก่อให้เกิดมลภาวะในองค์กร ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2.2เพื่อให้องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น เป็นองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และ น่าทำงาน น่าอยู่ น่าดู น่าชม เป็นที่กล่าวขานของผู้ที่ไดพบเห็น๒.3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์พาหะนำโรคต่างๆ เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ และสัตว์ มีพิษต่างๆ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.1 เพื่อลดปริมาณขยะ ของเสีย ที่ก่อให้เกิดมลภาวะในองค์กร ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 2.2เพื่อให้องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น เป็นองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นที่สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และ น่าทำงาน น่าอยู่ น่าดู น่าชม เป็นที่กล่าวขานของผู้ที่ไดพบเห็น๒.3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์พาหะนำโรคต่างๆ เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ และสัตว์ มีพิษต่างๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตะลุบันสะอาด(เมืองสวยด้วยมือเรา) ประจำปี พ.ศ. 2561 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะรอซีดังสะตา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด