กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอเซ๊ะ โต๊ะเจ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3032-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2561 ถึง 10 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3032-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2561 - 10 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 126,302.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรโลก ทำให้สัดส่วนของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน เป็นเป้าหมายที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีย่อมหมายถึงบุคคลนั้นมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี มีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ให้ดำรงอยู่อย่างปกติสุขตามศักยภาพแห่งตน ปัจจุบันจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ “ภาวะสังคมผู้สูงอายุ” อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง เพิ่มมากขึ้นและมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุนั้น ปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้นเป็นผลจากความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยสิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าประชากรผู้สูงอายุจะเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ ในอนาคตอันใกล้นี้ประกอบกลุ่มผู้สูงอายุมักเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆสูง โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุนข้อเข่าเสื่อม โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคความจำเสื่อม ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มักพบว่าผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวเรื้อรังมากกว่า1โรคขึ้นไป
ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่า ทุกคนควรให้ความรักเคารพและดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อน สามารถถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลานแต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องการเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ฉะนั้นผู้สูงอายุควรต้องได้รับความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารในครบ ๕ หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้ เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วย จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน การสร้างสุขภวะตามแนวทางของสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งขออ้างเอกสารประกอบการอบรมของ ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพสุธีรวุฒิ ได้ให้ความหมายของระบบสุขภาพ ได้ว่า “ระบบสุขภาพ หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์และการจัดการทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ระบบสุขภาพเป็นระบบความสัมพันธ์แบบองค์รวมเชื่อมโยงองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างสมดุล ไม่ใช่การมองเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง เช่น มองเฉพาะคน หรือมองเฉพาะโรคทางการแพทย์ แต่จะต้องมองไปถึงสังคมคุณภาพชีวิตมิติอื่นๆ เป็นต้น การดำเนินงานเพื่อนำไปสู่สุขภาวะ จึงเป็นบทบาทของทุกคน ทุกภาคี ทุกหน่วยงาน”
มิติสุขภาวะ หมายถึง การมองถึงสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญาซึ่งสอดคล้องกับโครงการสร้างเสริมสุขภาวะแก่ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญา ให้สอดคล้องกับแนวทางอัลอิสลามซึ่งศาสดามูฮำหมัด (ซล.)ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องส่งผลให้ มีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย จึงได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ2561 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมให้มีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ
  2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
  3. เพื่อจัดกิจกรรมตัดผมผู้สูงอายุ เพศชาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 12
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ 563
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพได้ถูกต้อง ปราศจากโรคภัย อีกทั้งสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงวิธีการดูแลสุขภาพที่ดีสำหรับบุคคลที่เป็นตัวอย่างในการดูแลสุขภาพ และผู้สูงอายุสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดแข่งขันกิจกรรมแต่ละประเภทได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับความรูู้ความเข้าใจการสร้างเสริมสุขภาวะ
0.00

 

2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
0.00

 

3 เพื่อจัดกิจกรรมตัดผมผู้สูงอายุ เพศชาย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุชายได้รับบริการตัดผม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 620
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 12
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ 563
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ (2) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน (3) เพื่อจัดกิจกรรมตัดผมผู้สูงอายุ เพศชาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3032-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลรอเซ๊ะ โต๊ะเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด