กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มผู้ป่วย ในโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงตำบลตาลีอายร์ ปี 2561

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 เม.ย. 2561 2 เม.ย. 2561

 

การดำเนินงานตลอดโครงการสามารถสรุปได้ดังนี้ ระยะ / กิจกรรม ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. กพ มี.ค เมย พค มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย. ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำแผน กำหนดวันปฏิบัติงาน

2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมตรวจคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยอาสาสมัครสาธารณสุข

 

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรองฯ ด้วยวาจา ด้วยแบบคัดกรองความเสี่ยงของโรคความดันโลหิต และโรคเบาหวาน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม เยี่ยมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อไป
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายผู้ที่สงสัย หรือมีอาการจะป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันจาก รพ.สต.

 

กิจกรรมติดตามประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตในกลุ่มป่วย 2 เม.ย. 2561 2 เม.ย. 2561

 

ระยะ / กิจกรรม ปีพ.ศ. 2560 ปีพ.ศ. 2561 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำแผน กำหนดวันปฏิบัติงาน

2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ 1.ประสานประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยเข้าร่วมโครงการ

2.ทำแบบประเมินภาวะสุขภาพในการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ. 2 ส.                                             

3.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย โดยจัดกิจกรรมอบรม 3 รุ่น ดังนี้ - รุ่นที่ 1 กลุ่มเสี่ยงสูง  จำนวน 94 ราย
- รุ่นที่ 2 กลุ่มป่วย จำนวน 36 ราย
 
4.นัดติดตามพร้อมประเมินระดับน้ำตาลในเลือด และความดันในกลุ่มป่วย

ขั้นสรุปผลโครงการ 1.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตาลีอายร์

 

1.  ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ห่างไกลจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง ส่งผลให้สถิติของการที่จะเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง 3. ประชาชนกลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล HbA1c < 7 ได้ร้อยละ 40 และควบคุมระดับความดันไม่เกิน 140/90 mmHg ได้ร้อยละ 50
4. ประชาชนกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง     5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม ประเมินภาวะสุขภาพ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

 

ค่าวัสดุการแพทย์ ในการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 เม.ย. 2561 2 เม.ย. 2561

 

ระยะ / กิจกรรม ปีพ.ศ. 2560 ปีพ.ศ. 2561 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำแผน กำหนดวันปฏิบัติงาน

2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ

ขั้นดำเนินการ 1.ประสานประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มป่วยเข้าร่วมโครงการ

2.ทำแบบประเมินภาวะสุขภาพในการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ. 2 ส.                                             

3.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มป่วย โดยจัดกิจกรรมอบรม 3 รุ่น ดังนี้ - รุ่นที่ 1 กลุ่มเสี่ยงสูง  จำนวน 94 ราย
- รุ่นที่ 2 กลุ่มป่วย จำนวน 36 ราย
 
4.นัดติดตามพร้อมประเมินระดับน้ำตาลในเลือด และความดันในกลุ่มป่วย

ขั้นสรุปผลโครงการ 1.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตาลีอายร์

 

1.  ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ห่างไกลจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง ส่งผลให้สถิติของการที่จะเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง 3. ประชาชนกลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล HbA1c < 7 ได้ร้อยละ 40 และควบคุมระดับความดันไม่เกิน 140/90 mmHg ได้ร้อยละ 50
4. ประชาชนกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง     5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม ประเมินภาวะสุขภาพ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง