กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน , นายสุทัศน์หาบยูโซ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2559 โรงพยาบาลสตูลได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งสิ้น 235 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 221.11 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบหญิง 131 ราย เพศชาย 104 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายเท่ากับ 1.26 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 5-9 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 61 ราย รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 15-24 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 50 ราย โดยกลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มวันเรียนพบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนสิงหาคม จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 64 ราย เนื่องจากปี 2559 มีฝนตกชุกตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายนทำให้มีผลการระบาดโรคไข้เลือดออก รองลงมาเป็นเดือนกรกฎาคม จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 40 ราย ตำบลที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือตำบลฉลุง รองลงมาเป็นตำบลบ้านควน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 41 ราย และพบมีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุดเท่ากับ 398.83 ต่อแสนประชากร
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกปี 2559เท่ากับ 221.11 ต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยปี 2559 เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลปี 2558 ที่ผ่านมา พบว่าจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกเริ่มสูงตั้งแต่ต้นปี ซึ่งบ่งชี้ว่าปี 2559 เป็นเป็นที่เกิดการระบาด จากสถานการณ์ข้างต้นพบว่า ปัญหาไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ตำบลบ้านควน ที่จำเป็นต้องมีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุม เตรียมทั้งด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เพื่อความพร้อมในการดำเนินงานกลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน จึงขอแสนอโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงตำบลบ้านควน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 10,830
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ลดจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายใหม่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน
    2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
    3. เครือข่ายสุขภาพตำบล มีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เตรียมความพร้อมทีมงานพ่นสารเคมี

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.จัดตารางพ่นสารเคมีในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน  10 แห่ง ดังนี้   โรงเรียนบ้านกาเนะ   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ   โรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งวิมานชัยพัฒน์   ศดม.บ้านโคกทราย  โรงเรียนบ้านกาลูบี
      โรงเรียนบ้านควน   ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน   โรงเรียนอันซอเรี๊ยะอัดดีนีย๊ะ   ศูนย์พัฒนาศักยภาพบ้านลูโบ๊ะบาตู 2. จำนวนผู้ป่วยรับแจ้ง  12 ราย  ออกพ่นสารเคมีควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง จำนวน 9 ราย  ส่วน 3 รายที่เหลือ อาสาสมัครสาธารณสุขใช้สเปรย์กระป๋องพ่นควบคุมภายใน 24 ชั่วโมง ก่อนพ่นสารเคมี 3. จำนวนผู้ป่วยที่รับแจ้ง ในปีงบประมาณ 2559 จำนวน 132 ราย  จำนวนผู้ป่วยรับแจ้งในปีงบประมาณ 2560 จำนวน 12 ราย


     

    10,830 4

    2. จัดประชุมเตรียมความพร้อมทีมงาน

    วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไม่ได้จัดกิจกรรมตามแผน

     

    25 25

    3. ประชุมเครือข่ายสุขภาพเตรียมความพร้อม

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ไม่ได้จัดการประชุมเครือข่ายสุขภาพในปีงบประมาณ 2560 เนื่องจากปีนี้ไม่มีการระบาด จึงเป็นแค่การพูดคุยในเวทีต่างๆที่มีโอกาส และพูดคุยกับ อสม.  มากกว่า
    2. หมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู  HI = 9.20  CI= 8.93     หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน    HI = 0.97    CI= 0.58     หมู่ที่ 3 บ้านโคกทราย  HI = 9.58    CI= 1.98     หมู่ที่ 4 บ้านคลองตาย  HI = 9.39    CI= 9.57     หมู่ที่ 5 บ้านควน        HI = 9.66    CI= 2.26     หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี      HI = 9.46    CI= 2.49     หมู่ที่ 7 บ้านลูโบ๊ะการันยี  HI = 0.97  CI= 0.58

     

    35 35

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ในสถานศึกษาชวงก่อนเปิดภาคเรียน
    ผลการประเมิน จัดตารางพ่นสารเคมีในช่วงก่อนเปิดภาคเรยน  10 แห่ง ในพื้นที่ตำบลบ้านควน จำนวนผู้ป่วยรับแจ้ง 12 ราย ออกพ่นสารเคมีควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง จำนวน 9 ราย ส่วน 3 รายที่เหลือ อสม.ใช้สเปรย์กระป๋องพ่นควบคุมภายใน 24 ชั่วโมง ก่อนสารเคมี จำนวนผู้ป่วยที่รับแจ้งในปีงบประมาณ 2559 จำนวน 132 ราย จำนวนผู้ป่วยรับแจ้งในปีงบประมาณ 2560 จำนวน 12 ราย
    การจัดประชุมเครือข่ายสุขภาพในปีงบประมาณ 2560 เนื่องจากปีนี้ไม่มีการระบาด จึงเป็นแค่การพูดคุยในเวทีต่างๆที่มีโอกาส และพูดคุยกับ อสม.มากกว่า  กิจกรรมดังกล่าวไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ กิจกรรมสำรวจ ค่า HI CI พบว่า
    หมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู  HI = 9.20  CI = 8.93 หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน    HI = 0.97  CI = 0.58 หมู่ีที่ 3 บ้านโคกทราย    HI = 9.58  CI = 1.98 หมู่ที่ 4 บ้านคลองตาย  HI = 9.39  CI = 9.57 หมู่ที่ 5 บ้านควน      HI = 9.66  CI = 2.26 หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี      HI = 9.46 CI = 2.49 หมู่ที่ 7 บ้านลูโบ๊ะการันยี    HI = 0.97  CI = 0.58 ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ แต่มีวัตถุประสงค์ข้อทีมป้องกันและควบคุมโรคออกพ่นสารเคมีกรณีได้รับการแจ้งชื่อผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง แต่ในรายที่ไม่สามารถออกควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบใช้สเปรย์กระป๋องควบคุมไปพลางก่อนที่จะลงพ่นสารเคมีในวันถัดไป เนื่องจากบางครั้งมีปัญหาเรื่องฝนตก เจ้าบ้านไม่อยู่ในที่พัก ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ สิ่งที่ได้เรียนรู้/สิ่งที่ประทับใจ เกิดการมีส่วนร่วมภาคประชาชน มีการทำงานร่วมกันเป็นทีม ระบบการควบคุมป้องกันโรคเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว ปัญหา/อุปสรรค ยังคงมีประชาชนบางส่วนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องในเรื่องโรคไข้เลือดออก ไม่ให้ความสำคัญในการกำจัดแหล่งเพาะพนธ์ลูกน้ำยุงลาย โดยมุ่งความสำคัญไปในเรื่องการพ่นสารเคมีมากกว่า  และพบว่า พื้นที่ตบลบ้านควนขาดแคลนน้ำทำให้ประชาชนมีการเตรียมภาชนะรองรับน้ำไว้เกือบทุกหลังคาเรือน ซึ่งส่งผลให้เกิดการเพาะพันธ์ลูกน้ำเพิ่มขึ้นโดยไม่ตั้งใจ แนวทางแก้ไไข สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโรคไข้เลือดออก ให้คำแนะนำในการปรับปรุงภาชนะรองรับน้ำใช้ให้ยุงไม่สามารถวางไข่ได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : - มีการพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ในสถานศึกษาช่วงก่อนเปิดภาคเรียน - ทีมป้องกันและควบคุมโรคออกพ่นสารเคมีกรณีได้รับการแจ้งชื่อผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง - ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวนลดลงจากปี 2559

     

    2 สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : - มีการประชุมเครือข่ายสุขภาพระดับตำบล อย่างน้อย 2ครั้ง/ปี - ค่า HI

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10830
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 10,830
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) สร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ในปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-2-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน , นายสุทัศน์หาบยูโซ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด