กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีผะ มะเกะ




ชื่อโครงการ การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3027-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3027-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 114,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน พบปัญหาอัตราการเกิดและการมีชีวิตอยู่รอดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ระดับประเทศตั้งเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 แต่พบว่าในพื้นที่จังหวัดชายแดนอยู่ที่ ร้อยละ 15 พบว่ามีค่าที่เกิดอยู่ 3 เท่า ขณะที่องค์การอนามัยโลกกำหนดอยู่ที่ร้อยละ 2.5 นับเป็นจุดตั้งต้นที่สำคัญของการทำงานด้านสาธารณสุข ดังนั้นงานอนามัยของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่จึงเป็นตัวบ่งชี้สภาวะสุขภาพที่มักถูกหยิบยกขึ้นเป็นตัวสะท้อนการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศอยู่เสมอ เพราะส่วนหนึ่งการเสียชีวิตของแม่ที่คลอดบุตรเป็นตัวบ่งบอกความเป็นอยู่ของแม่และเด็ก ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ รวมถึงความเพียงพอของสถานบริการด้านสุขภาพด้วยสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตพื้นที่ภาคใต้ปี 2559 โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังมีความน่าเป็นห่วงเข้าขั้นวิกฤตอยู่มาก เหตุเพราะอัตราส่วนการตายของมารดายังเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง โดยพบสูงสุดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส คิดเป็นร้อยละ 82.81, 67.43 และ 63.93 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต ตามลำดับ (เกณฑ์มาตรฐาน ไม่ควรเกิน ร้อยละ 5 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต)นอกจากนี้ ยังพบว่า มารดาขาดสารอาหาร และมีภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ โดยในปี 2556 ภาพรวมของประเทศ พบว่ามารดาที่มีภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ 17.1 โดยพบสูงสุดที่จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 98.4 รองลงมาได้แก่นราธิวาส 17.2 และยะลา 16.1 ตามลำดับ (เป้าหมายที่กำหนด ไม่ควรเกินร้อยละ 10) ส่งผลต่อทารกแรกคลอด อาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดและคลอดมาแล้วน้ำหนักน้อยส่วนสถานการณ์ทารกแรกคลอดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า ยังมีทารกจำนวนมากที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ปกติอย่างมาก (เกณฑ์น้ำหนักแรกคลอดต้องไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ซึ่งภาพรวมของประเทศ ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อยู่ที่ร้อยละ 7.8 โดยอัตราสูงสุดอยู่ที่จังหวัดยะลา ร้อยละ 9.5 รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 7.4 และปัตตานี 6.7 ทั้งนี้สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ในบริบทของสูติศาสตร์สมัยใหม่ และมีเพียงน้อยรายที่เกิดจากเหตุสุดวิสัยจากสถานการณ์สถิติที่น่าเป็นห่วง สะท้อนถึงปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ควรได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ถึงแม้ว่าตำบลเขาตูมยังไม่พบอัตราการตายของมารดาและทารก แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลถึงความปลอดภัยของอนามัยแม่และได้ ซึ่งรพ.สต.ในพื้นที่ตำบลเขาตูมมี 2 รพ.สต.คือ รพ.สต.เขาตูม มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้านและ รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ของผลงานความครอบคลุมของงานอนามัยแม่และเด็กพบว่า ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก นับเป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของตำบลเขาตูม มีผลงานต่ำกว่าเกณฑ์หลายตัวชี้วัด เมื่อปีงบประมาณ 2559พบว่าอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ รพ.สต.เขาตูม ร้อยละ 62.64 รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 66.67 จากเกณฑ์ร้อยละ 75 และได้ดำเนินโครงแก้ปัญหาดังกล่าวแล้วเสร็จสิ้นเมื่อ 30 กันยายน 2560 พบว่าผลงานการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ รพ.สต.เขาตูม ร้อยละ80.70 รพ.สต.บ้านจาเราะบองอร้อยละ 83.58 ซึ่งเห็นได้ว่าผลการดำเนินงานตามโครงการปี 2560 มีผลงานเพิ่มขึ้นและประสบความสำเร็จ แต่ปัญหาแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ รพ.สต.เขาตูม ร้อยละ 64.91รพ.สต.จาเราะบองอ ร้อยละ 69.14จากเกณฑ์ร้อยละ 95 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด รพ.สต.เขาตูม ร้อยละ 24.06รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 40.38จากเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10พบว่ายังเป็นปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป จึงเป็นที่มาของโครงการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ตำบลเขาตูมอำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาซีดมีความรู้เกี่ยวกับอาหารเสริมธาตุเหล็กได้ถูกต้อง
  3. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พบปัญหาซีดขณะตั้งครรภ์ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 250
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พบปัญหาซีดขณะตั้งครรภ์ลดลงร้อยละ 5 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 3 ปี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
    250.00

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาซีดมีความรู้เกี่ยวกับอาหารเสริมธาตุเหล็กได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มีความรู้เกี่ยวกับอาหารเสริมธาตุเหล็กได้ถูกต้อง
    250.00

     

    3 หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พบปัญหาซีดขณะตั้งครรภ์ลดลง
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พบปัญหาซีดขณะตั้งครรภ์ลดลงร้อยละ 5 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 3 ปี
    250.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 250
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาซีดมีความรู้เกี่ยวกับอาหารเสริมธาตุเหล็กได้ถูกต้อง (3) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พบปัญหาซีดขณะตั้งครรภ์ลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การป้องกัน และแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3027-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสารีผะ มะเกะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด