กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561 ”

ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลตาลีอายร์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเป็นดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นต้นทุนสำคัญสำหรับการพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ สะสมประสบการณ์เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในพื้นที่ชายแดนที่มีปัญหาความไม่สงบ มัก พบเด็กขาดสารอาหาร ถึงร้อยละ 35 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้(พัฒนาการเด็กปฐมวัย รากแก้วแห่งชีวิต) โภชนาการมีผลต่อการพัฒนาโครงสร้างของสมอง การสร้างฉนวนหุ้มเส้นประสาท ระดับและการทำงานของสารสื่อประสาท และจำนวนปลายประสาทสัมผัส ภาวะขาดสารอาหาร จึงมีผลเสียต่อพัฒนาการด้านสติปัญญา นอกจากนั้นภาวะขาดสารอาหารจะทำให้เด็กเคลื่อนไหวได้น้อยลง เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของเด็ก ส่งผลให้เด็กไม่สามารถพัฒนาระดับสติปัญญาได้เต็มศักยภาพของตน ช่วงวัยสำคัญที่สุดสำหรับเด็กคือช่วงนับจากในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2-3 ปีแรก เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการรุนแรงจนเตี้ยแคระแกร็นในช่วง 2 ขวบแรกจะส่งผลต่อระดับไอคิวเมื่อโตขึ้น และส่งผลต่อเนื่องต่อระดับไอคิวเมื่อเป็นผู้ใหญ่ ปัญหาที่พบมากคือ การขาดสารไอโอดีน เป็นอีกหนึ่งสาเหตุสำคัญของการพร่องทางสติปัญญาที่ป้องกันได้ การขาดธาตุไอโอดีนนานๆ ทำให้ระดับไอคิวโดยเฉลี่ยต่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ขาดถึง 13.5 จุด การขาดธาตุเหล็ก ทำให้เด็กเติบโตช้าภูมิต้านทานพร่อง โลหิตจาง อ่อนเพลีย เฉื่อยชา มีสมาธิสั้น ความสามารถในการเรียนรู้และสติปัญญาต่ำลง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีมาตรการส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization) โรคอ้วนนับเป็นอีกปัญหาที่พบมากขึ้นในเด็กไทยในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมา วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา คือทุกฝ่ายต้องร่วมมือร่วมใจ ปัญหาโภชนาการขาดและเกินที่กล่าวมาทั้งหมด ล้วนเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพและศักยภาพด้านสติปัญญาของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยและโรงเรียนร่วมกับครอบครัวจึงควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กอย่างจริงจัง โดยสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการเลี้ยงดูเด็กไทยให้เติบใหญ่แข็งแรง มีสุขภาพดี และมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ เด็กที่เป็นอนาคตของชาติจึงสมควรได้รับอาหารและโภชนาการที่ถูกต้องนับแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาต่อเนื่องจนเติบใหญ่ โดยเฉพาะในช่วงโอกาสทอง 3 ปีแรก เพื่อป้องกันการสูญเสียศักยภาพตามต้นทุนทางพันธุกรรม รวมทั้งดูแลให้มีสุขภาวะที่ดีพร้อมรับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการถือเป็น 1 ใน 6 เรื่องปัญหาสำคัญ ที่ควรได้รับการพิจารณารับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยการคัดเลือกปัญหาและแนวทางการแก้ไขนั้นผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและตัดสินใจจากทุกภาคส่วนม ปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากงตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ซึ่งครูผู้ดูแลเด็กได้ประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้เกณฑ์น้ำหนักเทียบอายุ ส่วนสูงเทียบอายุ และน้ำหนักเทียบส่วนสูงพบว่าเด็กมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 10คน จากเด็กทั้งหมด 55คน คิดเป็นร้อยละ18ส่วนสูงค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 16 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ 7และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กดังกล่าวซึ่งผลกระทบต่อพัฒนาการเด็ก ให้เด็กเติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยพร้อมที่จะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ สะสมประสบการณ์เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ประจำปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง 2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตนและดูแลภาวะโภชนาการเด็กได้อย่างถูกวิธี
  2. เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้มีรูปร่างดีและสมส่วน
  3. เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
  4. เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตได้ตามเกณฑ์อายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ประจำปี 2561 วันที่ 3 เดือน กันยายน พ.ศ.2561 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตาลีอายร์ รายละเอียดดังนี้ 08.30 น.  - 09.00 น.    -ลงทะเบียน 09.00 น. -  09.30 น.  -กล่าวรายงานพร้อมเปิดพิธี โดยผอ.กองการศึกษาฯ อบต.ตาลีอายร์ 09.30 น. - 10.30 น.  -ความสำคัญของอาหารต่อสุขภาพ - อาหารที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน  โดยผอ.รพ.สต.ตำบลตาลีอายร์ 10.30 น. 10.45 น.  -พักรับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 10.45 น. -12.00 น.  -วิธีปฏิบัติตนในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ  โดยนางสาวฮามีด๊ะ  มิ่่งสมร นวก.สาธารณสุขชำนาญการ 12.00 น. -13.30 น.  -พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.30 น. -14.30 น.  -สาธิตการประกอบอาหารโดยครูผู้ดูแลเด็ก บรรยายโดยนางสาวฮามีดีะ มิ่งสมร นวก.สาธารณสุขชำนาญการ
14.30 น. - 14.45 น.  - พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.45 น. -16.00 น.  -ชมการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ 16.00 น. -16.30 น.  -สรุปการจัดโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ  -พิธีปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตนและดูแลภาวะโภชนาการเด็กได้อย่างถูกวิธี
  2. เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้มีรูปร่างดีและสมส่วน
  3. เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
  4. เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตได้ตามเกณฑ์อายุ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง 2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตนและดูแลภาวะโภชนาการเด็กได้อย่างถูกวิธี 2. เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้มีรูปร่างดีและสมส่วน 3. เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย 4. เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตได้ตามเกณฑ์อายุ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง  2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากง ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลตาลีอายร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด