กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ ชูแป้น

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-015 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-02-015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเรื่องของปัญหาสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติจำนวนชองผู้ป่วยมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วย จากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ เนื่องจากผลิตผลทางการเกษตรส่วนใหญ่มักจะมีการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและยังคงตกค้างในผลผลิต ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับประชาชนในเขตชุมชนเมืองที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ดังนั้น ชุมชนบ้านนางลาดเหนือจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในพื้นที่ชุมชนเพื่อลดสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชชี้แจงแนวทางการดำเนินงานคณะทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้
  3. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถที่จะ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกันช่วยทำให้ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนมีความกลมเกลียว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 15 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตามรายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่ 3

 

0 0

2. ประชุมชชี้แจงแนวทางการดำเนินงานคณะทำงาน

วันที่ 6 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตามเอกสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่ 3

 

10 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 6 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตามรายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่ 3

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 ได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
0.00

 

2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 ได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
0.00

 

3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษที่ไม่มีสารเคมีตกค้าง
0.00

 

4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการพูดคุยและแลกเปลี่ยนพืชผลทางการเกษตรซึ่งกันและกัน เป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนเมือง ซึ่งค่อนข้างเห็นได้ยากในปัจจุบัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง (2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง (4) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชชี้แจงแนวทางการดำเนินงานคณะทำงาน (2) อบรมให้ความรู้ (3) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านนางลาดเหนือ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-015

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ ชูแป้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด