เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 1-001-60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 1-001-60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มีความก้าวหน้าทำให้ผู้ป่วยทั่วไปและเรื้อรังรอดชีวิตจากภาวะวิกฤตมากขึ้น โรงพยาบาลต้องเพิ่มอัตราการหมุนเวียนเตียง เพื่อลดจำนวนวันของการอยู่รักษาในโรงพยาบาล และลดค่าใช้จ่ายของการรักษาพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยเรื้อรังต้องถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเร็วขึ้นทั้ง ๆ ที่อาการยังไม่คงที่ บางรายมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ติดตัวมาที่บ้านเป็นเหตุให้ต้องมีการส่งต่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขทำการดูแลอย่างต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยและครอบครัวหลังการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ซึ่งผู้ป่วยจำนวนหนึ่งสามารถรักษาอาการให้หายขาดได้ แต่มีผู้ป่วยบางรายไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ กลายเป็นการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มีความยุ่งยากซับซ้อนของการควบคุมอาการของโรคให้สงบได้ ซึ่งต้องการการดูแลเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแล เพื่อช่วยควบคุมอาการของโรคได้ จึงต้องมีการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องการการมีส่วนร่วมจากครอบครัวในการดูแล แต่การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ยังไม่ดีเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว และจากปัจจัยอื่น ๆ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ท้อแท้ และหมดกำลังใจ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลคลองขุด ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล เพื่อเป็นการดึงศักยภาพของสมาชิกในครอบครัวให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลร่วมกับทีมสุขภาพ ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันที่บ้านได้ ร่วมกับการส่งเสริมสุขภาพในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดูแล และใช้ระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังลดการใช้เวลา ยานพาหนะผู้นำส่งในการมารับบริการจากหน่วยงานสาธารณสุขอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และผู้ป่วยได้รับการดูแลช่วยเหลือต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
- ผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัวสามารถดูแลกันเองในครอบครัวได้
- ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 27 คน และมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 10 คน
ผลลัพธ์ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย อาสาสมัครสาธารณสุขที่มาดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไปดูแลผู้ป่วยที่บ้านพร้อมทั้งสอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
25
8
2. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 36 คน และมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 13 คน
ผลลัพธ์ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย อาสาสมัครสาธารณสุขที่มาดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไปดูแลผู้ป่วยที่บ้านพร้อมทั้งสอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
38
36
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำโครงการเคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครและผู้ดูแลในการดูแลหรือฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และเพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) ได้จัดกิจกรรมเยี่ยม ดูแล แนะนำ และฟื้นฟูการดูแลผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 63 คน และมอบเวชภัณฑ์และวัสดุทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วย จำนวน 23 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 1-001-60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 1-001-60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 1-001-60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มีความก้าวหน้าทำให้ผู้ป่วยทั่วไปและเรื้อรังรอดชีวิตจากภาวะวิกฤตมากขึ้น โรงพยาบาลต้องเพิ่มอัตราการหมุนเวียนเตียง เพื่อลดจำนวนวันของการอยู่รักษาในโรงพยาบาล และลดค่าใช้จ่ายของการรักษาพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยเรื้อรังต้องถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเร็วขึ้นทั้ง ๆ ที่อาการยังไม่คงที่ บางรายมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ติดตัวมาที่บ้านเป็นเหตุให้ต้องมีการส่งต่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุขทำการดูแลอย่างต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยและครอบครัวหลังการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ซึ่งผู้ป่วยจำนวนหนึ่งสามารถรักษาอาการให้หายขาดได้ แต่มีผู้ป่วยบางรายไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ กลายเป็นการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มีความยุ่งยากซับซ้อนของการควบคุมอาการของโรคให้สงบได้ ซึ่งต้องการการดูแลเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแล เพื่อช่วยควบคุมอาการของโรคได้ จึงต้องมีการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องการการมีส่วนร่วมจากครอบครัวในการดูแล แต่การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ยังไม่ดีเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว และจากปัจจัยอื่น ๆ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ท้อแท้ และหมดกำลังใจ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลคลองขุด ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล เพื่อเป็นการดึงศักยภาพของสมาชิกในครอบครัวให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลร่วมกับทีมสุขภาพ ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันที่บ้านได้ ร่วมกับการส่งเสริมสุขภาพในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดูแล และใช้ระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังลดการใช้เวลา ยานพาหนะผู้นำส่งในการมารับบริการจากหน่วยงานสาธารณสุขอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และผู้ป่วยได้รับการดูแลช่วยเหลือต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
- ผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัวสามารถดูแลกันเองในครอบครัวได้
- ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 27 คน และมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 10 คน ผลลัพธ์ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย อาสาสมัครสาธารณสุขที่มาดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไปดูแลผู้ป่วยที่บ้านพร้อมทั้งสอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
|
25 | 8 |
2. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 36 คน และมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน 13 คน ผลลัพธ์ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบวัสดุและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยโดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย อาสาสมัครสาธารณสุขที่มาดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไปดูแลผู้ป่วยที่บ้านพร้อมทั้งสอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
|
38 | 36 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำโครงการเคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครและผู้ดูแลในการดูแลหรือฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และเพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) ได้จัดกิจกรรมเยี่ยม ดูแล แนะนำ และฟื้นฟูการดูแลผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 63 คน และมอบเวชภัณฑ์และวัสดุทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วย จำนวน 23 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพครบทุกมิติของชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เคาะประตูดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 1-001-60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......