กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพัฒนา โรจชยะ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561–L7572 -02-017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561–L7572 -02-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเรื่องของปัญหาสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติจำนวนชองผู้ป่วยมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วย จากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ เนื่องจากผลิตผลทางการเกษตรส่วนใหญ่มักจะมีการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและยังคงตกค้างในผลผลิต ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับประชาชนในเขตชุมชนเมืองที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ดังนั้น ชุมชนบ้านไร่จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษในพื้นที่ชุมชนเพื่อลดสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และ แกนนำชุมชน
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถที่จะ นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกันช่วยทำให้ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนมีความกลมเกลียว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และแกนนำชุมชน

วันที่ 22 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และแกนนำชุมชนได้รับทราบเพื่อนกำหนดวันจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดวันจัดกิจกรรม แระประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกในชุุมชนได้รับทราบ

 

10 0

2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

วันที่ 25 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกี่ยวกับโทษของการบริโภคพืชผักที่มีสารพิษหรือสารเคมีตกค้างในช่วงเช้า
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกี่ยวกับการปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้บริโภคด้วยตนเองในครัวเรือน ตั้งแต่การเตรียมดินเพื่อปลูก การเพาะชำเพื่อขยายพันธุ์ ไปจนถึงการดูแลรักษา
  3. กิจกรรมพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้และพืชผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันของผู้เข้าร่วมโครงการ
  4. ประเมินและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรุ้จากการอบรม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานด้วยตนเอง ของชุมชนบ้านไร่

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 ได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
0.00

 

2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 70 ได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
0.00

 

3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษที่ไม่มีสารเคมีตกค้าง
0.00

 

4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการพูดคุยและแลกเปลี่ยนพืชผลทางการเกษตรซึ่งกันและกัน เป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนเมือง ซึ่งค่อนข้างเห็นได้ยากในปัจจุบัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง (2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารเคมีตกค้าง (4) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรซึ่งกันและกันทำให้ความสัมพันธ์ของผู้คน ในชุมชนมีความกลมเกลียว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และ  แกนนำชุมชน (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ ชุมชนบ้านไร่ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561–L7572 -02-017

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัฒนา โรจชยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด