กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.ร้อยละ90 ของเด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 3.ร้อยละ93 ของเด็กอายุ0-5 ปีพัฒนาการสมวัย 4.ร้อยละ90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 5.ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00 100.00

 

 

1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ทั้งหมด ...รายได้รับการดูแลตามมาตรฐาน(ฝากครรภ์5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100 และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์จำนวน 28 ราย/ร้อยละ 93.33 3.จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.24 4. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 82.60

2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 7.ร้อยละ90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่PCUได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค 8.ร้อยละ5ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
0.00 100.00

 

 

5.กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ100 6. อัตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ DM11 ราย คิดเป็นร้อยละ3.84(ทั้งหมด286) HT13 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.16(ทั้งหมด312)

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 9.ร้อยละ80หญิงอายุ30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 10.ร้อยละ20หญิงอายุ30 – 60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 11.ร้อยละ80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
0.00 100.00

 

 

  1. . ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU.ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรคคิดเป็นร้อยละ100 (จำนวนผู้ป่วยที่รับยาในโครงการ 19 ราย ได้รับการตรวจเลือดทั้งหมด)
  2. . ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่คิดเป็นร้อยละ0.6 /จำนวน5ราย(ทั้งหมด 838 ราย)