กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน(งานภาคประชาชน)
      จำนวน 4 ครั้ง คือวันที่ 23 พ.ค. 2561,29 มิ.ย. 2561, 10 ส.ค.2561 และ23 ส.ค.2561
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (มารดาตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง) จำนวน 4 ครั้ง
      คือวันที่ วันที่ 5 ก.ค.2561,12 ก.ค.2561 ,26 ก.ค.2561 และ16 ส.ค.2561
  4. กิจกรรมการคัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน(ติดตามเยี่ยมส่งเสริม                สุขภาพเชิงรุกในชุมชน) จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 25 มิถุนายน 2561 ,13 ก.ค.2561 ,17 ก.ค.2561, 23 ก.ค. 2561 , 3 ส.ค.2561 และ 10 ส.ค.2561
  5. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน จำนวน 7 ชุมชน คือ วันที่ 10 ก.ค.2561,13 ก.ค.2561,20 ก.ค. 2561,14 ส.ค.2561
  6. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรัง   ราย ใหม่  จำนวน3 ครั้ง คือ วันที่ 18 พ.ค.2561,29 มิ.ย.2561 และ10 ส.ค.2561
  7. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 3 ครั้ง คือ วันที่ 9 พ.ค.2561,13 มิ.ย.2561และ   8 ส.ค.2561
  8. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่
  9. กิจกรรมจัดฐานเรียนรู้ 5 สี บอกวิถีโรคแทรกซ้อน วันที่ 24 ส.ค.2561
  10. กิจกรรมประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 30 มิ.ย. 2561 ,5 ก.ค. 2561,   20 ก.ค.2561, 23-24 ก.ค.2561และ27 ก.ค. 2561 ใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิตของWHO ผลการประเมิน ร้อยละ 94.16 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมระดับกลางๆ ร้อยละ 4.17 มีคุณภาพชีวิตที่ดี
  11. กิจกรรมการตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ(งานคุ้มครองผู้บริโภค) จำนวน 5 วัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.ร้อยละ90 ของเด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 3.ร้อยละ93 ของเด็กอายุ0-5 ปีพัฒนาการสมวัย 4.ร้อยละ90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 5.ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00 100.00

1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ทั้งหมด ...รายได้รับการดูแลตามมาตรฐาน(ฝากครรภ์5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100 และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์จำนวน 28 ราย/ร้อยละ 93.33 3.จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.24 4. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 82.60

2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 7.ร้อยละ90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่PCUได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค 8.ร้อยละ5ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
0.00 100.00

5.กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ100 6. อัตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ DM11 ราย คิดเป็นร้อยละ3.84(ทั้งหมด286) HT13 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.16(ทั้งหมด312)

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 9.ร้อยละ80หญิงอายุ30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 10.ร้อยละ20หญิงอายุ30 – 60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 11.ร้อยละ80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
0.00 100.00
  1. . ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU.ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรคคิดเป็นร้อยละ100 (จำนวนผู้ป่วยที่รับยาในโครงการ 19 ราย ได้รับการตรวจเลือดทั้งหมด)
  2. . ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่คิดเป็นร้อยละ0.6 /จำนวน5ราย(ทั้งหมด 838 ราย)

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1640
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3.  เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh