กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกฤติยาภรณ์ สีมัสมิง

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3333-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3333-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมามากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต สุขภาพกาย เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขคณะ อสม. บ้านเกาะยวน ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านบางตาล ได้ทำการสำรวจข้อมูลปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุพบว่ามี ผู้สูงอายุทั้งหมด 207 คน พบว่าผู้สูงอายุส่นใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องการดูแลสุขภาพในเรื่องของโรคเรื้อรัง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วนและเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ขาดการออกกำลังกายที่สม่ำเสมออย่างต่อเนื่องและการดูแลสุขภาพจิต มีปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้เลี้ยงดูบุตรหลานตามลำพัง เนื่องจากประชากรวัยทำงานอพยพเข้าไปทำงานในเมือง คณะ อสม.บ้านเกาะยวน ได้ให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุมาโดยตลอด ได้ร่วทกับส่วนราชการในพื้นที่ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่การดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เช่น การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต ส่งเสริมการออกกำลังกาย ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ลูกหลาน ส่งเสริมการปฏิบัติธรรม จัดกิจกรรมวันสำคัญ รดน้ำน้ำผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ จ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอย่างไรก็ตาม ทุกผ่ายที่เกี่ยวข้องถือว่าปฏิบัติต่ิผู้สูงอายุถือเป็นภาระกิจหลักที่ต้องดำเนินการอย่างเต็มที่ อย่างต่อเนื่อง และควบคู่ไปกับกลุ่มอื่นๆ ในสังคม เช่น เด็ก เยาวชน และสตรี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนในสังคมต่อไป ดังนั้น คณะ อสม.หมู่ที่ 2 บ้านเกาะยวน ต.เกาะนางคำ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง มีมติให้จัดทำโครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561 ขึ้นเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้สน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุ
  2. การตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
  3. การแข่งขันกีฬามหาสนุกเพื่อทดสอบสมรรถภาพผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมรดน้ำดำหัวขอพรผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้าน โภชนาการ การฟื้นฟู สมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
  2. สร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุและช่วยกันดูแล
  4. เครือข่ายผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถช่วยเหลือดูแลเพื่อผู้สูงอายุในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้สน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอรมความรู้ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจ และมีมัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเอง
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีชมรมผู้สูงอายุ และเครือข่ายในชุมชนให้สนับสนุน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้สน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุ (2) การตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (3) การแข่งขันกีฬามหาสนุกเพื่อทดสอบสมรรถภาพผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมรดน้ำดำหัวขอพรผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุบ้านเกาะยวนสุขภาพดี ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3333-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกฤติยาภรณ์ สีมัสมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด