กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolicได้ถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน
ตัวชี้วัด : บันทึกข้อมูลการดำเนินโครงการในโปรแกรม JHCISและรายงานเป็นเอกสารเมื่อสิ้นสุด โครงการพร้อมภาพกิจกรรม

 

 

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน ๑๓๐/๘๐ มม.ปรอท

 

 

 

3 3. เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการลดน้ำหนักและทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน ๑๒๕ mg/dl

 

 

 

4 4. ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวินิจฉัยโรคได้ทันท่วงที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะอ้วนลงพุง สามารถควบคุม/ลดน้ำหนักหรือรอบเอวได้

 

 

 

5 5. เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วยเรื้อรัง สามารถควบคุมโรคได้

 

 

 

6 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท
ตัวชี้วัด : การนำเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามประเมินผลที่เกิดขึ้นเป็นความยั่งยืนในชุมชน

 

 

 

7 7. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl
ตัวชี้วัด : สถานบริการมีทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้แก่เบาหวานความดันโลหิตสูงและอื่น ๆ ครบถ้วน

 

 

 

8 8. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ดีและลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด :