กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
น่างสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4143-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันความทันสมัยของเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีอัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ.2557 ของกระทรวงสาธารณสุข พบอัตราความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 22 (ประมาณ 10.1 ล้านคน) อัตราความชุกของโรคในผู้ชาย ร้อยละ 36 ในผู้หญิงร้อยละ 34 ส่วนอัตราความชุกของโรคเบาหวาน ร้อยละ 6.9 (ประมาณ 3.2 ล้านคน) อัตราความชุกของโรคในผู้ชาย ร้อยละ 11.4 ในผู้หญิง ร้อยละ 12.4 กลุ่มประชากร อายุ 45 - 59 ปี เป็นกลุ่มที่เริ่มพบภาวการณ์เกิดโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และยังพบภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงในผู้ชาย ร้อยละ 20 และในผู้หญิง ร้อยละ 28 จากหลักฐานทางวิชาการ พบว่า การลดน้ำหนัก ร้อยละ 5 - 10 ของน้ำหนักตัว ก็จะช่วยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดจากภาวะอ้วนได้ และถ้าสามารถลดขนาดของรอบเอวได้ทุกๆ5 เซนติเมตร จะสามารถลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานได้ 3 - 5 เท่า
ความชุกของภาวะอ้วน (BMI ≥ 25 กก/ม2 และหรือภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอวเกิน ชาย 90 ซม. หญิง 80 ซม.) ประจำปีงบประมาณ 2560 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำนิบงบารู พบว่า มีผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุง ร้อยละ 29.84 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ซึ่งควรมีการดูแลช่วยเหลือเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างเร่งด่วน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู จึงเห็นควรจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คนไทยไร้พุง ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไปในอนาคต สามารถเข้าถึงหน่วยบริการได้สะดวกและเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปทางที่เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมและพัฒนา การดำเนินงานของคลินิกไร้พุงให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
  3. 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนเกิดความตระหนัก ตื่นตัว และเกิดการรับรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันภาวะอ้วนลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้

วันที่ 9 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ได้ดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง ประจำปี 2561 ในกิจกรรมที่วางแผนไว้ทุกกิจกรรม โดยมีจัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องโรคอ้วนและไขมันในเลือด การดูแลตนเองเกี่ยวกับโภชนาการ การออกกำลังกาย การควบคุมน้ำหนักด้วยตนเอง โดยในการอบรมมีกลุ่มเป้าหมาย 100 คน แบ่งกลุ่มเป้าหมาย เป็น 2 รุ่นๆละ50 คน กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือและความสนใจตระหนักถึงอันตรายของโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองหลังเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 81 มีการติดตามประเมินผลภายหลังเข้าอบรมภายใน 4 เดือน โดยการวัดรอบเอวชั่งน้ำหนักตัวและประเมินสุขภาพดัชนีมวลกาย พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะอ้วนลงพุงมีผลการวัดรอบเอวและผลประเมินดัชนีมวลกาย ลงลดร้อยละ 40

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมและพัฒนา การดำเนินงานของคลินิกไร้พุงให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมและพัฒนา การดำเนินงานของคลินิกไร้พุงให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม (3) 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทยไร้พุง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น่างสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด