กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล


“ โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่ ”

ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสะแปอิงกาเร็ง

ชื่อโครงการ โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่

ที่อยู่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4142-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2561 ถึง 24 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4142-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2561 - 24 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง หลายสิบปีที่ผ่านมาได้มีการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีในสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ จากสถิติของสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ การควบคุมโรค ( 2559) พบว่าคนไทยสูบบุหรี่มีแน้วโน้มเพิ่มขึ้น มีผู้สูบบุหรี่ ทุกชนิดรวม 13 ล้าน มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปี และคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ ประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยววันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน เมื่่อสำรวจการได้รับควันบุหรี่มือสองของเยาวชนพบว่าร้อยละ 33.8 ของเยาวชน ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน และร้อยละ 38.6 ได้รับควันบุหรี่มือสองภายใน อาคารของสถานที่สาธารณะ แม้แต่ตำบลลิดลยังไม่มีข้อมูลอัตราผู้สูบบุหรี่ที่ชัดเจน แต่จากการสำรวจสมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลลิดลและบุคคลในครอบครัวที่เป็นเพศชาย พบว่ามีจำนวนผู้สูบบุหรี่ 69 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 71.13 ของจำนวนที่สำรวจทั้งหมด 97 คน ประกอบกับประชาชนยังละเลยไม่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบพ.ศ.2560 ซึ่งเพิ่มโทษผู้ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ เป็นปรับเกิน 5,000 บาท และกำหนดหน้าที่ให้เจ้าของสถานที่สาธารณะที่เป็นเขตปลอดบุหรี่มีหน้าที่ต้องประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนดูแลให้ไม่มีการฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ หากฝ่าฝืนไม่ดำเนินการเจ้าของสถานที่มีโทษปรับไม่เกิน 3,000 บาท ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลลิดลจึงได้จัดทำโครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่ ปี 2561 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิาภัยของบุหรี่ 2.เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบปลอดบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จากผลการทำแบบสอบถาม ก่อนและหลังอบรม กลุ่มเป้าหมายมีระดับคะแนนรวมด้านความรู้เกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ ทัศนคติ ระดับ 80 % ขึ้นไปดังนี้ ก่อนอบรม ได้คะแนน 80 % ขึันไป จำนวน 41 คน คิดเป็น 45.56 % หลังอบรม ได้คะแนน 80 % ขึ้นไป จำนวน 69 คน คิดเป็น 76.67 % ดังแผนภูมิ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิาภัยของบุหรี่ 2.เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบปลอดบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ 2.มีครอบครัวต้นแบบปลอดบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ครอบครัว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิาภัยของบุหรี่ 2.เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบปลอดบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 ครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวตำบลลิดล ลด ละ เลิก บุหรี่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4142-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะแปอิงกาเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด