กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ ”

รพ.สต.ตำบลดุซงญอ , รพ.สต.บ้านกาเต๊าะ และ ทั้งหมด 8 หมู่บ้านในตำบลดุซงญอ

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ รพ.สต.ตำบลดุซงญอ , รพ.สต.บ้านกาเต๊าะ และ ทั้งหมด 8 หมู่บ้านในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ตำบลดุซงญอ , รพ.สต.บ้านกาเต๊าะ และ ทั้งหมด 8 หมู่บ้านในตำบลดุซงญอ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ตำบลดุซงญอ , รพ.สต.บ้านกาเต๊าะ และ ทั้งหมด 8 หมู่บ้านในตำบลดุซงญอ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,416.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังหมายถึงโรคที่รักษาไม่หายการรักษาเป็นเพียงการพยุงไม่ให้มีการสูญเสียการทำงานของร่างกายมากขึ้นโรคเรื้อรังมีหลายประเภทเช่นโรคเบาหวานโรคอ้วนโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจวายโรคไตวายโรคข้อเสื่อมเป็นต้น โรคเรื้องรังหมายถึงโรคที่เป็นอยู่ยาวนานหายช้าหายยากหรือรักษาไม่หายขาดอาจแบ่งออกได้เป็น๓ประเภท ประเภทที่๑คือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ มีทางบำบัดรักษาให้หายได้แต่ต้องใช้เวลานานหลายเดือนหรือเป็นปีเช่น วัณโรคโรคเรื้อนโรคเท้าช้าง ประเภทที่๒คือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ ชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้แต่การรักษาแบบประคับประคองก็สามารถทำให้อาการของโรคทุเลาเช่นโรคเบาหวานโรคสะเก็ดเงิน ประเภทที่๓คือโรคที่กลายหรือสืบเนื่องมาจากโรคเฉียบพลันที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีเช่นโรคอัมพฤกษ์ที่เกิดจากอุบัติเหตุเมื่อไขสันหลังถูกกดทับแต่ไม่ถึงกับฉีกขาดหากรักษาทันท่วงทีก็หายได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องก็จะเป็นโรคอัมพฤกษ์ตลอดไป โรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่ออันเป็นผลมาจากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสังคมและพฤติกรรมการดําเนินชีวิตที่ผ่านมาส่งผลให้ประสบปัญหาโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรังเช่นโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคหัวใจทําให้เกิดอาการเจ็บป่วย ต้องสูญเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลเป็นจํานวนมาก จากสถานการณ์ของโรค พบว่าสาเหตุการตายส่วนใหญ่ร้อยละ ๖๐ เกิดจากโรคเรื้อรังเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็ง ปีละ๙๗,๐๐๐คนขณะที่คนไทยต้องกินยาสูงปีละ๔๗,๐๐๐ล้านเม็ดสาเหตุหลักของโรคเรื้อรังส่วนใหญ่ ร้อยละ ๙๐เกิดจากพฤติกรรม อาทิ กินอาหารไม่เหมาะสม ขาดการออกกําลังกาย น้ำหนักตัวเกิน สูบบุหรี่ดื่มเหล้า กินอาหารไม่เหมาะสม เช่น หวาน มัน เค็ม (ผลการวิจัยจากกรมอนามัย ปี ๒๕๕6)ศูนย์บริการสาธารณสุขเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่เน้นการสร้างเสริมป้องกันการเกิดโรคลดพฤติกรรมเสี่ยง ในกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปโดยการให้ความรู้ความเข้าใจสร้างความตระหนักในการเว้นปัจจัยเสี่ยง เช่นสูบบุหรี่ความเครียดอาหารเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองการใช้ยาถูกต้องลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควรการเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายและนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญอาทิโรคจอประสาทตาเสื่อมโรคไตวายเรื้อรังโรคหัวใจและหลอดเลือดแผลเรื้อรังการถูกตัดขาตัดนิ้วเป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะมีการให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรังทุกเดือนซึ่งที่ผ่านมามีจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด 180 คน ที่มารับบริการในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (PCU) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง การใช้ยาที่ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองการใช้ยาที่ถูกต้องลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องมากขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและ รพ.สต.บ้านกาเต๊าะจึงได้บูรณาการร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอและได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอในการดำเนินงานดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรคการดูแลตนเองและการใช้ยาอย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพในชุมชน
  4. 4. เพื่อติดตามอาการของผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่
  5. 5. เพื่อส่งเสริมผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 684
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรคการดูแลตนเองและการใช้ยาอย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 1

    วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมกลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นโดยการคัดกรองความดันโลหิตสูง เจาะเลือดปลายนิ้วตรวจหาค่าน้ำตาล วัดรอบเอว ชั้งน้ำหนัก ส่วนสูงพบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 10 คน กลุ่มที่ได้รับการคัดกรองมีความรู้เรื่องโรค ได้รับคำแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรค ร้อยละ 80

     

    64 584

    2. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้อตัน ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    3. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 3

    วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    4. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 4

    วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    5. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 5

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    6. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 6

    วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    7. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 7

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 548

    8. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 8

    วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    64 584

    9. อบรมกลุ่มกลุ่มเสี่ยงสูงและตรวจรักษาให้คำแนะนำ การบริหารด้านต่าง ๆ

    วันที่ 30 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    100 100

    10. อบรมกลุ่มเสี่ยงและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ครั้งที่ 9

    วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

     

    65 584

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    2. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรค การดูแลตนเอง และการใช้ยาอย่างถูกต้อง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองมากขึ้น

     

    2 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรคการดูแลตนเองและการใช้ยาอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อติดตามอาการของผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5. เพื่อส่งเสริมผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 684
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 684
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องโรคการดูแลตนเองและการใช้ยาอย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพในชุมชน (4) 4. เพื่อติดตามอาการของผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ (5) 5. เพื่อส่งเสริมผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการห่วงใยผู้ป่วยเรื้อรัง ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด