กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง (ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านจันนา)

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-50105-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีประชาชนเป็นจำนวนมากที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคอันเกิดจากพฤติกรรม ซึ่งเกิดจากปัญหาหลายด้านที่ส่งกระทบต่อพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ เช่น ด้านเศรษฐกิจ สังคม ค่านิยม และการขาดความรู้ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้ประชาชนมองข้ามในเรื่องสุขภาพและโรคที่ตามมา เนื่องจากการดำเนินชีวิตในแต่ละวันล้วนมีการแข่งขันมากขึ้นทำให้เกิดช่องว่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพและโรคต่างๆ ที่สามารถป้องกันได้โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่ออันเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถป้องกันได้ และจากการคัดกรองผู้ป่วยกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคดังกล่าว ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านจันนาได้รับคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 491 คน พบภาวะเสี่ยง จำนวน 270 คน สงสัยเป็นโรคจำนวน22คนรวมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวนทั้งหมด292คนคิดเป็นร้อยละ 59.47 ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 491 คน พบภาวะเสี่ยง จำนวน 112คน สงสัยเป็นโรคจำนวน 8 คน รวมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวนทั้งหมก 120 คน คิดเป็นร้อยละ 24.44 จะเห็นว่ามีกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นจำนวนมาก ซึ่งกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้หากยังไม่มีก่ีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม ก็อาจส่งผลให้ระดับความดันและน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นจนผิดปกติ และจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ที่ต้องรักษากินยาต่อเนื่อง ทำให้ต้องสูญเสียเสียงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นคณะอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีความตระหนักต่อการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ ลดการสูบบุรี่ ดื่มสุรา ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ 2 ส เพื่อป้องกันและลดภาวะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดอัตราการเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ไม่ให้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีพฤติกรรมในการดูแลเท้า และการบริหารนวดเท้าที่ถูกต้อง
  3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่
  4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ตามความเหมาะสม สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ไขมันในเลือดสูงและโรคเบาหวานได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้มีภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและไขมันในเลือดลดลง
    2. อัตราการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดรายใหม่ลดลง
    3. กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะดีขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผลการเจาะเลือดพบว่ามีไขมันในเลือดสูงจำนวน43คน คิดเป็นร้อยละ 57.33มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงพบระดับค่าความดันโลหิตสูงจำนวน 14 คนคิดเป็นร้อยละ 18.66มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองพบระดับค่าน้ำตาลในเลือด จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 42.66มีภาวะเป็นโรคเบาหวาน ทำให้ทราบว่าตัวเองเสี่ยงอยู่ในภาวะไหนแล้วทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเองเพื่อให้กลับสู่ภาวะปกติต่อไป

     

    70 70

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน 1. จัดประชุมให้ความรู้จำนวนกลุ่มเสี่ยง หมู่  7  และ  8 จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ  100 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการเจาะเลือด เพื่อหาไขมัน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการสรุป 1.ไขมันในเลือดสูง จำนวน 43 คน คิดเป็น 57.33 มีภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง 2.ระดับค่าความดันโลหิตสูง จำนวน 14 คน คิดเป็น 18.66 มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3.ระดับค่าน้ำตาลในเลือด จำนวน 32 คน คิดเป็น 42.66 มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน รายละเอียดค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท  เป็นเงิน  1,875  บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1,200  บาท  เป็นเงิน  2,400  บาท
    3.ค่าป้ายไวนิล  "โครงการให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน โรคเบาหวาน ในกลุ่มเสี่ยง ตำบลชะมวง  เป็นเงิน  600  บาท 4.ค่าตรวจไขมันในเลือด ตามโครงการปรับเปลี่ยนฯ  เป็นเงิน  8,400  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูง

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีพฤติกรรมในการดูแลเท้า และการบริหารนวดเท้าที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง มีพฤติกรรมในการดูแลเท้า และการบริหารนวดเท้าที่ถูกต้อง

     

    3 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่
    ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่

     

    4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ตามความเหมาะสม สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ไขมันในเลือดสูงและโรคเบาหวานได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย เพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ไขมันในเลือดสูงและโรคเบาหวาน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีพฤติกรรมในการดูแลเท้า และการบริหารนวดเท้าที่ถูกต้อง (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ตามความเหมาะสม สามารถลดภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ไขมันในเลือดสูงและโรคเบาหวานได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรูู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-50105-02-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชะมวง (ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านจันนา) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด