กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รุ่นที่ 1 จัดอบรมผู้ประกอบการ อสม.และ อบต.18 มีนาคม 2562
18
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลบ้านแหร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เขียนแผนงานโครงการ 2.เขียนโครงการเพือพิจารณาอนุมัติ 3.ประชุมชี้แจงโครงการฯให้ผู้ประกอบการณ์ด้านอาหารและร้านชำและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อขอความร่วมมือขับเคลื่อนโครงการฯและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆในหมู่บ้าน 4.จัดทำ ป้ายประชาสัมพันธ์และวัสดุอุปกรณ์ ในการอบรม 5.ดำเนินการประสานวิทยากรเพื่อ กำหนด เวลา สถานที่และเนื้อเรื่องในอบรมตามโครงการฯ 6.ประสานขอความร่วมมือกับผู้ปกครองด้านอาหารและร้านชำเข้าร่วมอบรมตามวันเวลาที่กำหนดและขอความร่วมมือจากทุกร้านอาหารและแผงลอยในเขตตำบลบ้านแหร โครงการร้านอาหารสะอาด รสชาติดี 7.ประชาสัมพันธ์เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคผ่านเสียงตามสายของ อบต.ตอนเช้าและทางวิทยุชุมชน 8.ดำเนินการตรวจประเมินด้านอาหารปลอดภัย (สารปนเปื้อน 6 ชนิด) ตรวจประเมินร้านอาหาร แผงจำหน่าย อาหารตามเกณฑ์ ของกรมอนามัย 2 ครั้ง ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมีนาคมและเดือนกันยายน ของทุกปี 9.ประกวดและมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติดี/อาหารปลอดภัย ชุดกันเปื้อนพร้อมหมวกให้แก่ร้านอาหาร แผงลอยที่ผ่านตามเกรฑ์ 10.ดำเนินงานโครงการฯ 11.ประเมินผลการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในการจัดทำโครงการการแก้ไขปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโคการกระตุ้นผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปประเด็นสำคัญอันดับแรกคือการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของด้านคุ้มครองผู้บริโภค การกระตุ้นพัฒนาการในเด็กและประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค (จัดตั้งศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร) ผลการดำเนินงานการกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องด้านคุ้มครองผู้บริโภค 1.1 ผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม ก่อนอบรมมีความรู้ระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 46.50 รองลงมาระดับดี คิดเป็นร้อยละ 41.50 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 12.50 ความรู้หลังการอบรมอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 95.15 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 4.85 ตามลำดับ

รุ่นที่ 2 จัดอบรมผู้ปกครอง4 กันยายน 2561
4
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลบ้านแหร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เขียนแผนงานโครงการ 2.เขียนโครงเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3.ประชุมชี้แจงโครงการฯให้ผู้ประกอบการณ์ด้านอาหารและร้านชำและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อขอความร่วมมือขับเคลื่อนโครงการฯ และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆในหมู่บ้าน 4.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์และวัสดุ อุปกรณ์ ในการอบรม 5.ดำเนินการประสานวิทยากรเพื่อ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และเนื้อเรื่องในการอบรมตามโครงการฯ 6.ประสานขอความร่ววมือกับผู้ประกอบการด้านอาหารและร้านชำเข้าร่วมอบรมตามวัน เวลา ที่กำหนดและขอความร่วมมือจากทุกร้านอาหารและแผงลอยในเขตตำบลบ้านแหร โครงการร้านอาหารสะอาด รสชาติดี 7.ประชาสัมพันธ์เรื่องงานคุ้มครองบริโภคผ่านเสียงตามสายของ อบต. ตอนเช้าและทางวิทยุชุมชน 8.ดำเนินการตรวจประเมินด้านอาหารปลอดภัย (สารปนเปื้อน 6 ชนิด) ตรวจประเมินร้านอาหาร แผงจำหน่าย อาหารตามเกณฑ์ ของกรมอนามมัย 2 ครั้ง ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมีนาคมและเดือนกันยายน ของทุกปี 9.ประกวดและมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติดี/อาหารปลอดภัย ชุดกันเปื้อนพร้อมหมวกให้แก่ร้านอาหาร แผงลอยที่ผ่านตามเกณฑ์ 10.ดำเนินงานโครงการฯ 11.ประเมินผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโภคการกระตุ้นผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป ประเด็นสำคัญอันแรกคือการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของด้านคุ้มครองผู้บริโภค การกระตุ้นพัฒนาการในเด็กและประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค (จัดตั้งศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร) ผลการดำเนินงานกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องด้านคุ้มครองผู้บริโภค 1.ผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม ก่อนอบรมมีความรู้ระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 46.50 รองลงมาระดับดีคิดเป็นร้อยละ 41.50 ระดับน้อยคิดเป็นร้อยละ 12.50 ความรู้หลังการอบรมอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 95.15 ระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 4.85 ตามลำดับ