กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.ดุซงญอ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2560 ถึง 6 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2560 - 6 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,463.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์การกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมและการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องมีการเผยแพร่ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในร้านค้าขายของชำพบว่าในบางพื้นที่มีร้านขายของชำจำหน่ายยาอันตรายที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านมากกว่าร้อยละ80การดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพบว่ากลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังเบาหวานความดันโลหิตสูงหรือโรคอื่น ๆ ในชุมชนมีรายงานการใช้ผลิตภัณฑ์ที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริงในชุนชนเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจการขายยาอันตรายในเขตตำบลดุซงญอจำนวน8หมู่บ้านพบว่ามีการจำหน่ายยาอันตรายในทุกหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นยาแก้อักเสบหรือยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) และยาชุดซึ่งทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาทำให้เกิดการดื้อยาเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลและเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์จากสภาพปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลดุซงญอจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลดุซงญอขึ้นเพื่อรณรงค์ให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตรายโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ประกอบกับองค์ประกอบของงานสาธารณสุขมูลฐานได้กำหนดไว้ว่าการคุ้มครองผู้บริโภคอสม. ต้องดำเนินร่วมกับประชาชนสอดส่องดูแลพฤติกรรมของร้านค้ารถขายยาเร่ ฯลฯ หากพบเห็นผู้กระทำผิดกฎหมายก็แจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อดำเนินการอสม. ร่วมกันให้ความรู้แก่เพื่อนบ้านในการเลือกซื้อสินค้าเช่นอาหารเครื่องปรุงรสขนมเครื่องปรุงรสขนมเครื่องสำอางที่มีมาตรฐานตามเกณฑ์ อย. มาใช้ตลอดจนอาจจัดตั้งกลุ่มชมรม เพื่อร่วมมือประสานงานกันดูแลประชาชนในพื้นที่และงานสุขศึกษาให้สุขศึกษาในเรื่องต่าง ๆ เช่นปัญหาสาธารณสุขของท้องถิ่นการร่วมกันแก้ไขปัญหาเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
  3. 3. เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวังกลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคผู้ประกอบการ
  4. 4. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
  5. 5. เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องเกินจำเป็น
  6. 6. เพื่อพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวังกลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องและเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนแลภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

     

    103 103

    2. ค่าทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องอันตราย

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนแลภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

     

    103 103

    3. ค่าตอบแทนวิทยากร

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนแลภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

     

    103 103

    4. ค่าจัดทำป้ายไวนิล

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนแลภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

     

    103 103

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    2. มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และการขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    3. พัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ
    4. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    5. ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น
    6. พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนแลภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    7. อัตราการขายยาที่ไม่ถูกต้องในร้านขายของชำลดลงอย่างต่อเนื่อง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง

     

    2 2. เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในตำบลดุซงญอ
    ตัวชี้วัด : 2.มีชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในตำบลดุซงญอ

     

    3 3. เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวังกลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคผู้ประกอบการ
    ตัวชี้วัด : 3.พัฒนากลไกการแก้ไขปัยหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวัง กลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ

     

    4 4. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา
    ตัวชี้วัด : 4.ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา

     

    5 5. เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องเกินจำเป็น
    ตัวชี้วัด : 5.ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และเกินจำเป็น

     

    6 6. เพื่อพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 6.พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำตระหนักถึงการขายยาที่ไม่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การใช้และขายยาชุดในตำบลดุซงญอ (3) 3. เพื่อพัฒนากลไกการแก้ไขปัญหายาชุดของตำบลดุซงญอ ประกอบด้วยกลไกการเฝ้าระวังกลไกการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคผู้ประกอบการ (4) 4. เพื่อให้ผู้ประกอบร้านขายของชำมีความรู้ในเรื่องขอบเขตในการใช้ยา (5) 5. เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องเกินจำเป็น (6) 6. เพื่อพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาให้เกิดมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรม อสม.ดุซงญอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด