โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ชมรมจักรยานดุซงญอไบค์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย ๕ อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่น ๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ ๖ ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่าง ๆ เช่น ปั่นจักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น
ปัจจุบันเป็นยุคข่าวมูลข่าวสาร ค้นหาแหล่งการเรียนรู้โดยสื่อ โซเซียลมีเดีย มีผลต่อวิธีความเป็นอยู่ตลอดจนการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนไม่มีเวลาออกกำลังกายเพื่อดูแลสุขภาพ ร่วมทั้งฟื้นฟูสุขภาพ เนื่องมลพิษทางอากาศเป็นพิษ จากเผ่าไหม้ ทำลายสิ่งแวดล้อมการออกกำลังกายเป็นยาวิเศษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง ตลอดจนยังช่วยให้มีความสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ในชุมชน สร้างความความรักความสามัคคี ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
โดยปกติแล้วคนที่มีน้ำหนัก50กิโลกรัมถ้าเดินในอัตราส่วนประมาณ3กิโลเมตรต่อชั่วโมง (เดินเร็ว) จะใช้พลังงานไป2.3-60 = 138กิโลแคลอรีการเดินทาง1ชั่วโมงเท่ากับการเผาพลาญข้าวสารอาหารและใช้พลังงานในปริมาณไล่ ๆ กับการเดิน3กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั้นหมายความว่าประโยชน์จากการขี่จักรยานก็คือการเผาผลาญและการใช้พลังงานทำให้ลดอัตราการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด นอกจากนั้นการขี่จักรยานอย่างต่อเนื่องเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิกที่มีผลทำให้หัวใจแข็งแรง กล้ามเนื้อหัวใจทำงานได้ดีขึ้น การออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อเนื่อง ช่วยทำให้การไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกายดีขึ้น รวมถึงเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะสำคัญในร่างกาย ได้แก่ สมอง ไต ลดการเก็บสะสมตะกรันไขมันในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ดังนั้นจึงสามารถป้องกันสภาวะเส้นเลือดตีบตันในอวัยวะสำคัญดังกล่าวข้างต้น นอกจากนั้นการขี่จักรยานยังเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ช่วยระบบการหายใจ เพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถึงลมปอดให้ดีขึ้นและยังเพิ่มระดับฮอร์โมน เอ็นดอร์ฟินอันจะช่วยลดความเครียดในร่างกายให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพ(ที่มา : ประโยชน์ทางการแพทย์จากการขี่จักรยานโดย นพ.ชาญวิทย์โคธีรานุรักษ์ข้อมูลจากนิตยสาร Health Today) และการขี่จักรยานเป็นกิจกรรมที่ง่ายที่สุด ที่ครอบครัวจะทำร่วมกันได้ โดยเฉพาะในสภาพการณ์ปัจจุบันที่การใช้ชีวิตของคนส่วนใหญ่ เป็นไปด้วยความเร่งรีบทำให้ไม่มีเวลาทั้งในการออกกำลังกาย และไม่มีเวลาทำกิจกรรมร่วมกันใน
ครอบครัว การปั่นจักรยานจึงเป็นกิจกรรม อย่างหนึ่งที่สมาชิกในครอบครัวทุกเพศทุกวัยสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งการปั่นจักรยานยั้งเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนหรือผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และการปั่นจักรยานเป็นการออกกำลังกายอีกประเภทหนึ่งที่ไม่จำกัดเพศ อายุ วัยและเป็นกีฬาที่ช่วยลดมลพิษทางอากาศ รักษาสภาพแวดล้อม ประหยัดพลังงาน ทั้งช่วยรณรงค์ในการลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย ชมรมจักรยานดุซงญอได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญให้ประชาชนในชุมชนหันมาสนใจในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และเป็นการรณรงค์เพื่อสุขภาพ จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจัดได้จัดทำโครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกายจิตใจการใช้ชีวิตร่วมกันในครอบครัวอย่างมีความสุข ซึ่งจะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่สำคัญโดยรวมกลุ่มบุคคลที่มีใจรักในการปั่นจักรยานใส่ใจที่ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- 3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- 4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย
- 5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน
- 6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน
- 7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน
- 8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน
- 9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มีสุขภาพดีห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อการออกกำลังกาย
- เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
- ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
- ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
- เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังเพิ่มมากขึ้น
- สร้างความรักความสามัคคีให้เพิ่มขึ้นจากการสร้างกิจกรรมร่วมกัน สามารถสร้างสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
- นักปั่นและประชาชนทั่วไปทั้งในตำบลดุซงญอและพื้นที่ใกล้เคียงตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
- สร้างแรงจูงใจให้กับนักปั่นและครอบครัวดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
- เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักปั่นในตำบลดุซงญอและพื้นที่ใกล้เคียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวสุขภาพ
วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนจำนวน 200 คนได้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
200
200
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ประชาชนมีเจตนาที่ดีต่อการออกกำลังกาย
- เกิดการรวมกลุ่มใจการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
- ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
- ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
- เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนมีความรักความสามัคคี เพิ่มขึ้นจากการส้รางกิจกรรมร่วมกัน สามารถส้รางสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
- ประชาชนทั่วไปได้ตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
- ประชาชนใส่ใจรักในสุขภาพมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
4
4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด :
5
5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน
ตัวชี้วัด :
6
6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน
ตัวชี้วัด :
7
7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน
ตัวชี้วัด :
8
8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน
ตัวชี้วัด :
9
9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด (3) 3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม (4) 4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย (5) 5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน (6) 6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน (7) 7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน (8) 8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน (9) 9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมจักรยานดุซงญอไบค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ชมรมจักรยานดุซงญอไบค์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย ๕ อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่น ๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ ๖ ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่าง ๆ เช่น ปั่นจักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น
ปัจจุบันเป็นยุคข่าวมูลข่าวสาร ค้นหาแหล่งการเรียนรู้โดยสื่อ โซเซียลมีเดีย มีผลต่อวิธีความเป็นอยู่ตลอดจนการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนไม่มีเวลาออกกำลังกายเพื่อดูแลสุขภาพ ร่วมทั้งฟื้นฟูสุขภาพ เนื่องมลพิษทางอากาศเป็นพิษ จากเผ่าไหม้ ทำลายสิ่งแวดล้อมการออกกำลังกายเป็นยาวิเศษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง ตลอดจนยังช่วยให้มีความสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ในชุมชน สร้างความความรักความสามัคคี ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
โดยปกติแล้วคนที่มีน้ำหนัก50กิโลกรัมถ้าเดินในอัตราส่วนประมาณ3กิโลเมตรต่อชั่วโมง (เดินเร็ว) จะใช้พลังงานไป2.3-60 = 138กิโลแคลอรีการเดินทาง1ชั่วโมงเท่ากับการเผาพลาญข้าวสารอาหารและใช้พลังงานในปริมาณไล่ ๆ กับการเดิน3กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั้นหมายความว่าประโยชน์จากการขี่จักรยานก็คือการเผาผลาญและการใช้พลังงานทำให้ลดอัตราการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด นอกจากนั้นการขี่จักรยานอย่างต่อเนื่องเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิกที่มีผลทำให้หัวใจแข็งแรง กล้ามเนื้อหัวใจทำงานได้ดีขึ้น การออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อเนื่อง ช่วยทำให้การไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกายดีขึ้น รวมถึงเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะสำคัญในร่างกาย ได้แก่ สมอง ไต ลดการเก็บสะสมตะกรันไขมันในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ดังนั้นจึงสามารถป้องกันสภาวะเส้นเลือดตีบตันในอวัยวะสำคัญดังกล่าวข้างต้น นอกจากนั้นการขี่จักรยานยังเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ช่วยระบบการหายใจ เพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถึงลมปอดให้ดีขึ้นและยังเพิ่มระดับฮอร์โมน เอ็นดอร์ฟินอันจะช่วยลดความเครียดในร่างกายให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพ(ที่มา : ประโยชน์ทางการแพทย์จากการขี่จักรยานโดย นพ.ชาญวิทย์โคธีรานุรักษ์ข้อมูลจากนิตยสาร Health Today) และการขี่จักรยานเป็นกิจกรรมที่ง่ายที่สุด ที่ครอบครัวจะทำร่วมกันได้ โดยเฉพาะในสภาพการณ์ปัจจุบันที่การใช้ชีวิตของคนส่วนใหญ่ เป็นไปด้วยความเร่งรีบทำให้ไม่มีเวลาทั้งในการออกกำลังกาย และไม่มีเวลาทำกิจกรรมร่วมกันใน
ครอบครัว การปั่นจักรยานจึงเป็นกิจกรรม อย่างหนึ่งที่สมาชิกในครอบครัวทุกเพศทุกวัยสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งการปั่นจักรยานยั้งเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนหรือผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และการปั่นจักรยานเป็นการออกกำลังกายอีกประเภทหนึ่งที่ไม่จำกัดเพศ อายุ วัยและเป็นกีฬาที่ช่วยลดมลพิษทางอากาศ รักษาสภาพแวดล้อม ประหยัดพลังงาน ทั้งช่วยรณรงค์ในการลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย ชมรมจักรยานดุซงญอได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญให้ประชาชนในชุมชนหันมาสนใจในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และเป็นการรณรงค์เพื่อสุขภาพ จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจัดได้จัดทำโครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกายจิตใจการใช้ชีวิตร่วมกันในครอบครัวอย่างมีความสุข ซึ่งจะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่สำคัญโดยรวมกลุ่มบุคคลที่มีใจรักในการปั่นจักรยานใส่ใจที่ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีอย่างต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- 3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- 4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย
- 5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน
- 6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน
- 7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน
- 8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน
- 9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มีสุขภาพดีห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อการออกกำลังกาย
- เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
- ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
- ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
- เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังเพิ่มมากขึ้น
- สร้างความรักความสามัคคีให้เพิ่มขึ้นจากการสร้างกิจกรรมร่วมกัน สามารถสร้างสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
- นักปั่นและประชาชนทั่วไปทั้งในตำบลดุซงญอและพื้นที่ใกล้เคียงตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
- สร้างแรงจูงใจให้กับนักปั่นและครอบครัวดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
- เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักปั่นในตำบลดุซงญอและพื้นที่ใกล้เคียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวสุขภาพ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนจำนวน 200 คนได้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
|
200 | 200 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
- ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ประชาชนมีเจตนาที่ดีต่อการออกกำลังกาย
- เกิดการรวมกลุ่มใจการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
- ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
- ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
- เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังเพิ่มมากขึ้น
- ประชาชนมีความรักความสามัคคี เพิ่มขึ้นจากการส้รางกิจกรรมร่วมกัน สามารถส้รางสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
- ประชาชนทั่วไปได้ตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
- ประชาชนใส่ใจรักในสุขภาพมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | 5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
6 | 6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ตัวชี้วัด : |
|
|||
7 | 7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
8 | 8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
9 | 9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีสุขภาพสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพ ให้แข็งแรง (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด (3) 3. เพื่อปรับเปลี่ยนและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม (4) 4.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่ออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย (5) 5. เพื่อรักษาสภาพอากาศให้ปราศจากมลมิษประหยัดพลังงาน (6) 6. เพื่อรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน (7) 7. เพื่อเพิ่มความรักความสามัคคีในชุมชน (8) 8. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน (9) 9. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมรวมกันทั้งกับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมจักรยานดุซงญอไบค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......