กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา ”
ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาดีละห์ดาแม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา

ที่อยู่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3052-03-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2561 ถึง 23 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3052-03-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2561 - 23 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเป็นดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นต้นทุนสำคัญสำหรับการพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ สะสมประสบการณ์เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในพื้นที่ชายแดนที่มีปัญหาความไม่สงบ มัก พบเด็กขาดสารอาหาร ถึงร้อยละ 35 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (พัฒนาการเด็กปฐมวัย รากแก้วแห่งชีวิต) โภชนาการมีผลต่อการพัฒนาโครงสร้างของสมอง การสร้างฉนวนหุ้มเส้นประสาท ระดับและการทำงานของสารสื่อประสาท และจำนวนปลายประสาทสัมผัส ภาวะขาดสารอาหาร จึงมีผลเสียต่อพัฒนาการด้านสติปัญญา นอกจากนั้นภาวะขาดสารอาหารจะทำให้เด็กเคลื่อนไหวได้น้อยลง เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของเด็ก ส่งผลให้เด็กไม่สามารถพัฒนาระดับสติปัญญาได้เต็มศักยภาพของตน ช่วงวัยสำคัญที่สุดสำหรับเด็กคือช่วงนับจากในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2-3 ปีแรก เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการรุนแรงจนเตี้ยแคระแกร็นในช่วง 2 ขวบแรกจะส่งผลต่อระดับไอคิวเมื่อโตขึ้น และส่งผลต่อเนื่องต่อระดับไอคิวเมื่อเป็นผู้ใหญ่ ปัญหาที่พบมากคือ การขาดสารไอโอดีน เป็นอีกหนึ่งสาเหตุสำคัญของการพร่องทางสติปัญญาที่ป้องกันได้ การขาดธาตุไอโอดีนนานๆ ทำให้ระดับไอคิวโดยเฉลี่ยต่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ขาดถึง 13.5 จุด การขาดธาตุเหล็ก ทำให้เด็กเติบโตช้าภูมิต้านทานพร่อง โลหิตจาง อ่อนเพลีย เฉื่อยชา มีสมาธิสั้น ความสามารถในการเรียนรู้และสติปัญญาต่ำลง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีมาตรการส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization) โรคอ้วนนับเป็นอีกปัญหาที่พบมากขึ้นในเด็กไทยในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมา วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา คือทุกฝ่ายต้องร่วมมือร่วมใจ ปัญหาโภชนาการขาดและเกินที่กล่าวมาทั้งหมด ล้วนเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไข เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพและศักยภาพด้านสติปัญญาของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยและโรงเรียนร่วมกับครอบครัวจึงควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กอย่างจริงจัง โดยสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการเลี้ยงดูเด็กไทยให้เติบใหญ่แข็งแรง มีสุขภาพดี และมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ เด็กที่เป็นอนาคตของชาติจึงสมควรได้รับอาหารและโภชนาการที่ถูกต้องนับแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาต่อเนื่องจนเติบใหญ่ โดยเฉพาะในช่วงโอกาสทอง 3 ปีแรก เพื่อป้องกันการสูญเสียศักยภาพตามต้นทุนทางพันธุกรรม รวมทั้งดูแลให้มีสุขภาวะที่ดีพร้อมรับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการถือเป็น 1 ใน 6 เรื่องปัญหาสำคัญ ที่ควรได้รับการพิจารณารับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยการคัดเลือกปัญหาและแนวทางการแก้ไขนั้นผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและตัดสินใจจากทุกภาคส่วน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนบ้านโตะบาลา องค์การบริหารส่วนตำบลกะดุนง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กดังกล่าวซึ่งผลกระทบต่อพัฒนาการเด็ก ให้เด็กเติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยพร้อมที่จะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ สะสมประสบการณ์เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา ประจำปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
  2. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
  3. 1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
  4. 2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
  5. 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
  6. 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตนและดูแลภาวะโภชนาการเด็กได้อย่างถูกวิธี
    2. เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้มีรูปร่างดีและสมส่วน
    3. เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
    4. เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตได้ตามเกณฑ์อายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
    62.00

     

    2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
    ตัวชี้วัด : ผลการตรวจสารปนเปื้อน 6 ชนิดที่ตกค้างในอาหาร
    62.00

     

    3 1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
    1.00

     

    4 2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
    ตัวชี้วัด : เด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
    1.00

     

    5 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : ผลการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
    1.00

     

    6 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : เด็กได้รับโภชนาการที่ดีขึ้น (คน)
    62.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (2) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (3) 1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง (4) 2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที (5) 3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก (6) 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในเด็กก่อนวัยเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3052-03-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอาดีละห์ดาแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด