กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ


“ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง" ”

ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง"

ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 2561-L2519-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง" จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2561-L2519-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกที่มีการระบาดอยู่ทั่วประเทส และเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลการะทบตามมามากมาย เช้่น เป้ฯภาระของครอบครัว ผลต่อการเรียน ต่อการทำงานและค่าใช้จ่ายในการรับบริการการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายของครอบครัวผู้ป่วย ตลอดจนอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ด้วยเหตุนี้ ปัญหาโรคไข้เลือดออก จีงเป็นปัญหาสำคัญที่ราทุกคนในสังคม ควรช่วยกันป้องกัน แก้ไข อย่างจริงจัง เพื่อลดปัญหารการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในประเทศไทย และเพื่อลดผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชนจากการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ระดับครัวเรื่อน ชุมชน จนถึงระดับชาติ และในส่วนของเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา เอง ก็มีผู้ป่วยซึ่งเป็นโรคไข้เลือดออกในทุกๆปี ทั้งที่มีการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ ยุงลาย อย่างต่อเนื่อง โดยทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับ คณะเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รพ.สต.บ้านตำเสา และหน่วยงานภาครัฐ
ดังนั้น ทางชมรมอสม.รพสต.บ้านตำเสา ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมมือกับคณะ อสม.หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 และ 6 จัดทำโครงการสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงขึ้น วึ่เป็นการแปรรูปสมุนไพรที่มีอยู้่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุงป้องกันยุง และแมลงอื่นๆ ประชาชนได้ใช้เสปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงที่ปลอดสารพิษ ราคาถูก และยังสามารถทำได้เองในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่ายในครอบครัวอีกด้วย ซึ่งคุณสมบัติของตะไคร้หอมมีหลายอย่าง เช่น ช่วยไล่ยุง ขับเหงื่อ เป็นยา สาระสำคัญในการออกฤทธิ์ไล่ยุงและแมลงของตะไคร้หอม มีการทดลองทางคลีนิค ใช้ในการไล่ยุง โดยทางคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ได้ใช้ครีมที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหยตะไคร้หอม 17% พบว่ามีฤทธิ์ไล่ยุงไดนาน 3 ชั่วโมง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้ทดลองประสิทธิภาพป้องกันยุงกัดของครีมที่ดีส่วนผสมตะไคร้หอม20 %พบว่ามีฤทธิ์ไล่ยุงได้นานประมาณ2 ชั่วโมง ขึ้นไป ในมะกรูดมีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน จึงสามารถนำไปไล่แมลงบางชนิดได้ เช่น มอด และมด ที่อยู่ในข้าวสารนอกจากนี้มะกรูดยังใช้ในการไล่ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงลาย นำเปลือกมาตากแห้งและเผาไฟจะช่วยไล่ยุงได้ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกนโรคไข้เลือดออดที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน 2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม.ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัยหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรม ให้ความรู้ เกี่ยวกับสาเหตุของโ่รควิธีการปฏิบัติ ตะไคร้หอมไล่ยุง
  2. กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะ การแบ่งกลุ่มการทำสเปรย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรม ให้ความรู้ เกี่ยวกับสาเหตุของโ่รควิธีการปฏิบัติ ตะไคร้หอมไล่ยุง

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสำเร็จตามเป้าหมาย

 

117 0

2. กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะ การแบ่งกลุ่มการทำสเปรย์

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

การสาธิต การทำเสปรย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสำเร็จ

 

117 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกนโรคไข้เลือดออดที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน 2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม.ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัยหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะในการจัดการสุขภาพประาชนร้อยละ 100 2.ผู้เ้ารับการอบรมมีควมรู้ในการจัดทำนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือในเร่ืองสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ชุมชน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกนโรคไข้เลือดออดที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน  2.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม.ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัยหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1  อบรม ให้ความรู้ เกี่ยวกับสาเหตุของโ่รควิธีการปฏิบัติ ตะไคร้หอมไล่ยุง (2) กิจกรรมที่  2  ฝึกทักษะ การแบ่งกลุ่มการทำสเปรย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำนวัตกรรม " สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง" จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 2561-L2519-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด