โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี ขุนเพ็ชร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L8402-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8402-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,165.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งปอด โรคเส้นเลือดสมอง โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง คือ ผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงานของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง แน่นหน้าอกและหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกสังคมตั้งแต่วัยรุ่น จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ พฤติกรรมของการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อน ซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการเสพติดบุหรี่เป็นนิสัยและต่อเนื่องไปยังวัยผู้ใหญ่ จากสถิติของสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมอนามัย (2558) พบว่าคนไทยที่สูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีผู้สูบบุหรี่ ทุกชนิด รวม 13 ล้านคน มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปี และคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ ประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน การสูบบุหรี่ของประชากรไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ.2558 พบว่า ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีผู้สูบบุหรีี่ 10.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 19.9 เมื่อพิจารณารายกลุ่มอายุ พบว่า อัตราการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยทำงานอายุ 25 - 59 ปี มีการสูบบุหรี่สูงที่สุด โดยกลุ่มอายุ 25 - 59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มอัตราการสูบบุหรี่ที่สูงขึ้น จากร้อยละ 22.79 และร้อยละ 14.25 อีกทั้งมีอัตราการป่วยและตายจากโรคที่เกี่ยวข้องกับยาสูบเพิ่มขึ้น การสูบบุหรี่ของเยาวชน (อายุ 15 - 18 ปี) ในช่วงปี 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2547 - 2557) พบว่าอัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 6.58 เป็นร้อยละ 8.25 จากการสำรวจในปีพ.ศ.2558 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2557 การเริ่มสูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่ม อีกทั้งพบว่าเยาวชนมีการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแแบบใหม่ๆ เพิ่มขึ้น โดยอุตสาหกรรมยาสูบ เน้นการใช่กลยุทธ์สื่อออนไลน์ ที่เข้ามาเป็นส่วนสำคัญ ซึ่งกฎหมายปัจจุบันยังไม่สามารถดำเนินการได้และกลุ่มเยาวชนยังขาดความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาสูบที่ถูกต้อง การพบเห็น, การได้ยิน, การพบเห็นก้นบุหรี่ภายในสถานที่สาธารณะ พบว่า จากการสำรวจโดยรวมสูง ร้อยละ 80.60 เมื่อเปรียบเทียบจากการสำรวจ 2 รอบ กับครั้งที่ผ่านมา พ.ศ.2554 และ 2557 พบว่า การพบเห็นการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะแต่ละประเภทลดลงเล็กน้อยแม้ว่าจะมีการบังคับใช้กฎหมายและกำหนดเขตปลอดบุหรี่ ร้อยละ 100 โดยเฉพาะร้านอาหาร, ภัตตาคาร, ตลาดสด, ตลาดนัด ที่พบว่ายังมีการละเมิดกฎหมาย
สำหรับจังหวัดสงขลา อัตราการสูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป ย้อนหลัง 3 ปี พบว่า ปี พ.ศ.2556,2557 และ 2558 มีผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ร้อยละ 22.81, 24.43 และ 21.80 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าอัตราการสูบบุหรี่ในจังหวัดสงขลา มีแนวโน้มการบริโภคลดลงแต่ก็ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยและค่าเป้าหมายของประเทศไทย (ศรัณญา เบญจกุล, 2559 เอกสารข้อเท็จจริง 2559 สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากร) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เห็นถึงความสำคัญเป็นห่วงสุขภาพประชาชนที่สูบบุหรี่ จึงได้มีข้อขับเคลื่อนนโยบาย จังหวัดสงขลาปลอดบุหรี่ รณรงค์ให้ประชาชนจังหวัดสงขลาเลิกบุหรี่ จัดตั้งคลินิกเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลในแต่ละอำเภอ และขอเชิญชาวจังหวัดสงขลาเข้าร่วมโครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทยเทิดไท้องค์ราชัน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
สำหรับชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 620 คน ประชากรที่สูบบุหรี่ 102 คน คิดเป็นร้อยละ 16.46 โดยชุมชนเห็นถึงประโยชน์ในการรณรงค์การสูบบุหรี่ในพื้นที่ ความสำคัญของการแก้ไขปัญหาจากการสูบบุหรี่ จึงร่วมกับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามได้เห็นถึง จึงได้จัดทำโครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ปี 2561 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชน ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่และป้องกันโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของบุหรี่และอันตรายจากบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีพื้นที่ปลอดบุหรี่
2.พื้นที่ในชุมชนบ้านกันใหญ่มีบ้านปลอดบุหรี่และพื้นที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน
3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ไม่ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่
4.ป้องกันการเกิดผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในพื้นที่ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้
5.ผู้นำชุมชน เครือข่ายในชุมชนและประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญและร่วมมือในกิจกรรมรณรงค์การลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลงร้อยละ 60
60.00
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของบุหรี่และอันตรายจากบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L8402-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดรุณี ขุนเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี ขุนเพ็ชร
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L8402-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8402-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,165.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งปอด โรคเส้นเลือดสมอง โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรง คือ ผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงานของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง แน่นหน้าอกและหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกสังคมตั้งแต่วัยรุ่น จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ พฤติกรรมของการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อน ซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการเสพติดบุหรี่เป็นนิสัยและต่อเนื่องไปยังวัยผู้ใหญ่ จากสถิติของสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมอนามัย (2558) พบว่าคนไทยที่สูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีผู้สูบบุหรี่ ทุกชนิด รวม 13 ล้านคน มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปี และคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ ประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน การสูบบุหรี่ของประชากรไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ.2558 พบว่า ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีผู้สูบบุหรีี่ 10.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 19.9 เมื่อพิจารณารายกลุ่มอายุ พบว่า อัตราการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยทำงานอายุ 25 - 59 ปี มีการสูบบุหรี่สูงที่สุด โดยกลุ่มอายุ 25 - 59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มอัตราการสูบบุหรี่ที่สูงขึ้น จากร้อยละ 22.79 และร้อยละ 14.25 อีกทั้งมีอัตราการป่วยและตายจากโรคที่เกี่ยวข้องกับยาสูบเพิ่มขึ้น การสูบบุหรี่ของเยาวชน (อายุ 15 - 18 ปี) ในช่วงปี 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2547 - 2557) พบว่าอัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 6.58 เป็นร้อยละ 8.25 จากการสำรวจในปีพ.ศ.2558 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2557 การเริ่มสูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่ม อีกทั้งพบว่าเยาวชนมีการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแแบบใหม่ๆ เพิ่มขึ้น โดยอุตสาหกรรมยาสูบ เน้นการใช่กลยุทธ์สื่อออนไลน์ ที่เข้ามาเป็นส่วนสำคัญ ซึ่งกฎหมายปัจจุบันยังไม่สามารถดำเนินการได้และกลุ่มเยาวชนยังขาดความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาสูบที่ถูกต้อง การพบเห็น, การได้ยิน, การพบเห็นก้นบุหรี่ภายในสถานที่สาธารณะ พบว่า จากการสำรวจโดยรวมสูง ร้อยละ 80.60 เมื่อเปรียบเทียบจากการสำรวจ 2 รอบ กับครั้งที่ผ่านมา พ.ศ.2554 และ 2557 พบว่า การพบเห็นการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะแต่ละประเภทลดลงเล็กน้อยแม้ว่าจะมีการบังคับใช้กฎหมายและกำหนดเขตปลอดบุหรี่ ร้อยละ 100 โดยเฉพาะร้านอาหาร, ภัตตาคาร, ตลาดสด, ตลาดนัด ที่พบว่ายังมีการละเมิดกฎหมาย สำหรับจังหวัดสงขลา อัตราการสูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป ย้อนหลัง 3 ปี พบว่า ปี พ.ศ.2556,2557 และ 2558 มีผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป สูบบุหรี่ร้อยละ 22.81, 24.43 และ 21.80 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าอัตราการสูบบุหรี่ในจังหวัดสงขลา มีแนวโน้มการบริโภคลดลงแต่ก็ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยและค่าเป้าหมายของประเทศไทย (ศรัณญา เบญจกุล, 2559 เอกสารข้อเท็จจริง 2559 สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากร) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เห็นถึงความสำคัญเป็นห่วงสุขภาพประชาชนที่สูบบุหรี่ จึงได้มีข้อขับเคลื่อนนโยบาย จังหวัดสงขลาปลอดบุหรี่ รณรงค์ให้ประชาชนจังหวัดสงขลาเลิกบุหรี่ จัดตั้งคลินิกเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลในแต่ละอำเภอ และขอเชิญชาวจังหวัดสงขลาเข้าร่วมโครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทยเทิดไท้องค์ราชัน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 สำหรับชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 620 คน ประชากรที่สูบบุหรี่ 102 คน คิดเป็นร้อยละ 16.46 โดยชุมชนเห็นถึงประโยชน์ในการรณรงค์การสูบบุหรี่ในพื้นที่ ความสำคัญของการแก้ไขปัญหาจากการสูบบุหรี่ จึงร่วมกับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามได้เห็นถึง จึงได้จัดทำโครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ปี 2561 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชน ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่และป้องกันโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของบุหรี่และอันตรายจากบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีพื้นที่ปลอดบุหรี่ 2.พื้นที่ในชุมชนบ้านกันใหญ่มีบ้านปลอดบุหรี่และพื้นที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน 3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ไม่ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ 4.ป้องกันการเกิดผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในพื้นที่ชุมชนบ้านกันใหญ่ หมู่ที่ 14 ตำบลคูหาใต้ 5.ผู้นำชุมชน เครือข่ายในชุมชนและประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญและร่วมมือในกิจกรรมรณรงค์การลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลงร้อยละ 60 |
60.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่ในระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากการสูบบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของบุหรี่และอันตรายจากบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดบุหรี่ ลดโรค ชุมชนบ้านกันใหญ่ ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L8402-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดรุณี ขุนเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......