กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย ”
บ้านทุ่งสบาย หมู่ที่ 10 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายอำนาจสมเพชร




ชื่อโครงการ โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย

ที่อยู่ บ้านทุ่งสบาย หมู่ที่ 10 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3328-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านทุ่งสบาย หมู่ที่ 10 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านทุ่งสบาย หมู่ที่ 10 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3328-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก การดิ้นรนเพื่อการดำรงชีวิต สถาบันครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น ให้ความสำคัญกับการสร้างความมั่งคั่งร่ำรวยความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แยกพ่อแม่ ลูกหลาน ปู่ย่า ตายาย ออกจากกัน ซึ่งผลครอบครัวไทยมีภาวะทางเศรษฐกิจดีขึ้น มีความสุขสบายทางด้านวัตถุมากขึ้น และความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่แนบแน่นและอบอุ่นก็เลือนหายไป เปลี่ยนแปลงไป ความผูกพันในครอบครัวค่อนข้างน้อย คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พอ่อแม่มีหน้าที่ทำงานหาเงินทอง และวัตถุมาเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูก ส่วนลูกมีหน้าที่เรียนหนังสือก็ถูกวัฒนธรรมต่างๆ ชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่ตามยถากรรม เด็กๆเรียนรู้ด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้าน สภาพเช่นนี้หลายคนมองว่าสถาบันครอบครัวไทยกำลังตกต่ำไม่มีความเป็นครอบครัวเหลืออยู่ ดังนั้นสถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลัก เป็นแกนกลางของสังคมไทย ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิต ครอบครัวมีหลากหลายรูปแบบ หลายลักษณะ นอกจากครอบครัวที่สมบูรณ์ ทั้งบิดา มารดา และบุตร สมาชิกครอบครัวต้องรู้จักรับผิดชอบหน้าที่ของตนเอง สามารถรวมเป็นพลัง สร้างคนในครอบครัวให้มีความสุขและมีคุณภาพ ทุกคนต้องตระหนักว่าตนเองมีหน้าที่สร้างครอบครัวให้มั่นคง ด้วยการกระชับความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวโดยการมอบครัวรักความเข้าใจ ความเอื้ออาทรให้กันและกัน เนื่องจากครอบครัวที่อบอุ่นจะช่วยเป็นภูมิต้านทานปัญหาต่างๆและยังช่วยเสริมสร้างสังคมให้น่าอยู่ คุณค่าและความสำคัญกับสถาบันครอบครัวเป็นอย่างยิ่ง คณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านทุ่งสบาย หมู่ที่ 10 เห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการ 3วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัยขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ครอบครัวเกิดการรักและหวงแหน
  2. เพื่อให้ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน
  3. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  4. เพื่อสร้างครอบครัวให้อบอุ่นและเ้มแข็งลดปัญหาความรุนแรงและการทะเลาะวิวาท

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • สมาชิกในครอบครัวเกิดการพัฒนาภาวะจิตใจและมีการดูแลสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น
    • ส่งเสริมให้ครอบครัวทำกิจกรรมร่วมกัน
    • สมาชิกในครอบครัวมีสัมธภาพที่ดีต่อกัน ลดความขัดแย้งในครอบครัว
    • ใช้เวลาว่างให่เกิดประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ครอบครัวเกิดการรักและหวงแหน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของครอบครัวมีความรักความผูกพัน
    0.00

     

    2 เพื่อให้ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมและเห็นถึงความสำคัญในการร่วมกิจกรรม
    0.00

     

    3 เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด : ทุกครอบครัวได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลครอบครัว
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างครอบครัวให้อบอุ่นและเ้มแข็งลดปัญหาความรุนแรงและการทะเลาะวิวาท
    ตัวชี้วัด : ครอบครัวมีความอบอุ่น มีความเข้าใจ ปฏิบัติหน้าที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ครอบครัวเกิดการรักและหวงแหน (2) เพื่อให้ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน (3) เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (4) เพื่อสร้างครอบครัวให้อบอุ่นและเ้มแข็งลดปัญหาความรุนแรงและการทะเลาะวิวาท

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ 3 วัย สานสัมพันธ์ระหว่างวัย หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L3328-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอำนาจสมเพชร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด