กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตลาดนัดสี่แยกพระพุทธน่าซื้อ
รหัสโครงการ 61-8287-2-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมตลาดนัดสี่แยกพระพุทธ
วันที่อนุมัติ 22 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 35,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอะดน สอเด็น ประธานชมรมตลาดนัดสี่แยกพระพุทธ
พี่เลี้ยงโครงการ นายกาดาฟีหะยีเด ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 23 เม.ย. 2561 31 ส.ค. 2561 23 เม.ย. 2561 31 ส.ค. 2561 35,000.00
รวมงบประมาณ 35,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในท่ามกลางกระแสโลกที่รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว มนุษญ์เกิดความเร่งรีบ หลงลืมที่จะดูแลสุขภาพโดยเฉพาะการบริโภคแทนที่จะนึกถึงความปลอดภัยกลับกินอาหารจานด่วนโดยไม่รู้ว่ามีสารปนเปื้อน จึงทำให้เกิดสารเคมีตกค้าง จากงานการแพทย์พบว่า 70% ของโรคต่างๆ เกิดจากวิถีการใช้ชีวิตของมนุษย์ หากเลือกกินอาหารที่ปลอดสารพิษและมีประโยชน์ก็จะสามารถป้องกันโรคได้ ชมรมตลาดนัดสี่แยกพระพุทธ จึงจัดทำโครงการตลาดนัดสี่แยกพระพุทธน่าซื้อ เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพ หลีกเลี่ยงสารเคมีที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิตในพืชผัก ผลไม้ต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคและอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคและลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคที่มากับอาหาร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพ หลีกเลี่ยงสารเคมีที่อาจเกิดจากขัั้นตอนการผลิตในพืชผัก ผลไม้ต่างๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค

ประชาชนได้รับอาหารที่มีคุณภาพ

100.00
2 เพื่อให้แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และเป็นแผงลอยจำหน่ายอาหารปลอดโฟม

แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์และปลอดโฟมร้อยละ 90

100.00
3 เพื่อลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคที่มาจากการบริโภคอาหาร

ลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคที่มากับอาหารลงได้

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,200.00 5 35,909.00
1 มิ.ย. 61 - 31 ส.ค. 61 บิ้กคลีนนิ่ง 0 1,000.00 1,242.00
1 ส.ค. 61 สร้างศูนย์เรียนรู้การทำน้ำหมักจากเศษผ้า 0 5,000.00 5,160.00
3 ส.ค. 61 - 3 มี.ค. 61 อบรมผู้ประกอบการ 0 14,100.00 14,107.00
3 ส.ค. 61 - 3 มี.ค. 61 ตรวจประเมินแผงลอย 0 14,100.00 10,400.00
6 ส.ค. 61 - 9 มี.ค. 61 ทำแปลงผักยกพื้น 0 5,000.00 5,000.00
  1. กิจกรรมจัดอบรมผู้ประกอบการร้านอาหาร อาหารสด ผักผลไม้
    • ติดต่อวิทยากรจากรพ.เทพา
    • ประสานกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม
    • จัดอบรมผู้ประกอบการร้านอาหาร อาหารสด ผักผลไม้และสินค้าทั่วไป เกี่ยวกับแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐาน แผงลอยจำหน่ายอาหารปลอดโฟม และการทำน้ำยาล้างจาน
  2. กิจกรรมการตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐานและปลอดโฟม
    • ประสานทีมงานตรวจประเมินจากคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์ 2 และอบต.เทพา
    • ดำเนินการตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐานและให้คำแนะนำแผงลอยจำหน่ายอาหารปลอดโฟมระหว่างวันที่ 20 - 30 มิถุนายน 2561
    • มอบป้ายแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐานและปลอดโฟม
  3. กิจกรรม big cleaning
    • กำหนดแผนในการ big cleaning
    • ประสานความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สมาชิกตลาด อสม. อบต.เทพา
    • ดำเนินการ big cleaning ทุกวันศุกร์ 4 กิจกรรมสร้างศูนย์เรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้
    • จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
    • ขอความร่วมมือจากผู้จำหน่ายผักและผลไม้
    • จัดทำศูนย์เรียนรู้
  4. กิจกรรมจัดทำแปลงผักยกพื้น   - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์   - จัดทำแปลงผักยกพื้น
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพ หลีกเลี่ยงสารเคมีที่อาจเกิดจากขัั้นตอนการผลิตในพืชผัก ผลไม้ต่างๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค 2.ลดอัตราความเสี่ยงในการเกิดโรคที่มาจากการบริโภคอาหาร
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2561 10:50 น.