กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร) ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี อิสหัส

ชื่อโครงการ โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร)

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L8302-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8302-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้ประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่โบราณกาลแล้ว เช่น ในเอเชียก็มีหลักฐานแสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้พืชสมุนไพรมากกว่า 6000 ปี แต่หลังจากที่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปที่ใช้ประโยชน์ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้มากกว่าสมุนไพร ทำให้ความนิยมใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้วิทยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนาไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพรให้คุณประโยชน์ดีกว่ายา ที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบกับในประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ มีพืชต่างๆที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิด ยังขาดก็แต่เพียงการค้นคว้าวิจัยในทางที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นเท่านั้น ความตื่นตัวที่พัฒนาความรู้ด้านพืชสมุนไพรจึงเริ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง มีการเริ่มต้นนโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา อาหารจานด่วน อาหารปรุงสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูปล้วนแต่เป็นที่นิยมบริโภคของคนในชุมชนต่างๆ ซึ่งในอาหารที่ปรุงนี้ส่วนมากจะมี ผงชูรส สารกันบูด สารฟอกสี และอื่นๆ เมื่อเรารับประทานเข้าไปจำนวนมากๆก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และอื่นๆ ปัจจุบันหลายคนเริ่มหันมาสนใจดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารพืชสมุนไพรหรือนำพืชสมุนไพรที่พบเห็นได้ทั่วไปมาใช้ดูแล ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพตนเองเบื้องต้น นับได้ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติดังเช่นบรรพบุรุษของเราที่มีการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาเบื้องต้นมานานแล้ว การนำพืชสมุนไพร เช่น พริก ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว มาปลูกไว้รอบๆบ้าน หรือที่มีอยู่ในชุมชนของตนเพื่อเป็นพืชสมุนไพรสามัญประจำบ้านที่สามารถหยิบใช้สอยเมื่อยามจำเป็น ดังนั้น ชมรมแพทย์แผนไทย อำเภอควนเนียง ซึ่งมีกิจกรรมส่งเสริมดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยมาตั้งแต่ พ.ศ.2544 จนถึงปัจจุบันได้ตระหนักถึงสุขภาพของคนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลมะรือโบตกจึงได้ประสานกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก ของบประมาณจัดทำโครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อกิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรใช้เป็นอาหารและยาแก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้เข้าอบรมสามารถนำวิธีผลิตสบู่ไปใช้ในครัวเรือนได้ -ผู้เข้าร่วมสามารถต่อยอดเป็นอาชีพเสริมได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ในประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมการทำสบู่สมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรวมตัวทำสบู่สมุนไพรเพื่อใช้เอง โดยใช้สมุนไพรที่มีในพื้นที่

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรใช้เป็นอาหารและยาแก่กลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้แพทย์แผนไทยด้านพืชสมุนไพร
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรใช้เป็นอาหารและยาแก่กลุ่มเป้าหมาย (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ(กิจกรรมผลิตสบู่สมุนไพร) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L8302-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีดี อิสหัส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด