กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาซือน๊ะ มะลีลาเตะ

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-02-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4143-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหายาเสพติดนั้นถือได้ว่าเป็นปัญหาระดับประเทศ การระบาดที่กระจายตัวอย่างรวดเร็วในสังคมไทย เป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากมาก เนื่องจากคนไทยในสมัยปัจจุบันไม่รู้จักการหลีกเลี่ยงเพราะอยากรู้ อยากลองบางคนมีความโลภที่จะหาเงินทางลัด โดยการนำมาขายเพื่อหวังกำไรที่มากมายมหาศาล โดยไม่คำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมที่ควรปฏิบัติต่อประเทศชาติ ผลจากการเห็นแก่ตัวของกลุ่มคนเหล่านี้ ส่งผลต่อเด้กเยาวชนของคนไทยที่จะมีอนาคตในภายภาคหน้าที่สดใส แต่กลับต้องหลงเชื่อโดยการอยากรู้อยากลองสารเสพติดเหล่านั้น ถูกการชักจูง การมั่วสุม และการหลอกให้เป็นเครื่องมือในการค้าขายสารเสพติด ถ้าเยาวชนทุกคนตกเป็นทาสของยาเสพติดอนาคตของประเทศคงจะพบการสูญเสียอย่างใหญ่หลวงเป็นแน่แท้ ยาเสพติดไม่มีผลดีต่อร่างกายและยังให้โทษอีกมากมายมหาศาล เนื่องจากเยาวชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากสังคมอย่างเพียงพอ ครอบครัวควรเป็นแบบอย่างในการให้ความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องกับเยาวชน เพื่อเป็นการช่วยกันขับเคลื่อนไปในทางที่ถูกที่ควร สิ่งเสพติดนั้นจะเข้าหากลุ่มเยาวชนได้อย่างง่ายมาก เพราะเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีความคึกคะนองพอสมควร ถ้าปล่อยให้สิ่งเสะติดนั้นทำลายเยาวชนซึ่งเป็นอนาคตของชาติ ประเทศไทยคงต้องพบกับสิ่งเลวร้ายร้ายอย่างยิ่ง จากคำกล่าวที่ว่าเยาวชนเป็นอนาคตของชาติ ถ้าไม่ป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับโทษ และการหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดแก่เยาวชน อนาคตของชาติคงถูกทำลายด้วยยาเสพสติดเป็นแน่ ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านกำปงตือเงาะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญเรื่องความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด การรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดและสุดท้ายขาดไม่ได้คือ การรู้จักการหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด จึงจัดทำโครงการเครือข่ายชุมชน หมู่ 11 บ้านกำปงตือเงาะสร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด เพื่อเป็นการสร้างถูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ภายใต้โครงการเรียนรู้การจัดการอย่างเป็นระบบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนรับรู้และทราบถึงปัญหาและพิษภัยยาเสพติด
  2. 2.เพื่อสร้างผู้นำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน
  3. 3.เพื่อสร้างความเข้มแข็งในสถาบันครอบครัว และชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้
  2. 2.รณรงค์ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ปกครอง และประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยบาแด เพื่อจัดทำโครงการฯ 2.เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ 3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เยาวชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 1 รุ่น 2 วัน 4.วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนินงาน 5.ประเมินผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ปกครอง และประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติด 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

 

60 0

2. 2.รณรงค์ประชาสัมพันธ์

วันที่ 25 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยบาแด เพื่อจัดทำโครงการฯ 2.เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ 3.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน 1 วัน 4.วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนินงาน 5.ประเมินผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบลดลง 2.เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึงโทษและผลเสียของยาเสพติด

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนรับรู้และทราบถึงปัญหาและพิษภัยยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อสร้างผู้นำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างความเข้มแข็งในสถาบันครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนรับรู้และทราบถึงปัญหาและพิษภัยยาเสพติด (2) 2.เพื่อสร้างผู้นำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน (3) 3.เพื่อสร้างความเข้มแข็งในสถาบันครอบครัว และชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้ (2) 2.รณรงค์ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเครือข่ายชุมชน ม.11 บ้านกำปงตือเงาะ สร้างพลังยั่งยืนป้องกันภัยยาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4143-02-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮาซือน๊ะ มะลีลาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด