กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางชบา สาจิ

ชื่อโครงการ เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5312-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนและประชาชนกลุ่มแม่บ้าน ที่ยังขาดภูมิคุ้มกัน และทักษะในการดำเนินชีวิตภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมในยุคปัจจุบันซึ่งในตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล พบเด็กและเยาวชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ไม่ถูกต้อง เช่นมีความเข้าใจว่าผ็ที่มีความเสี่ยงต้องเป็นผู้หญิงบริการทางเพศ ต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๖๕ โดยใช้แบบทดสอบความรู้ของ UNGUSS และแบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐พบผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นเยาวชนในพื้นที่ จำนวน ๗ ราย และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี รายใหม่ จำนวน ๓ ราย และที่เป็นรายเก่า ตั้งครรภ์ซ้ำ จำนวน ๖ รายซึ่งติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ และส่วนใหญ่ผู้ติดเชื้อกลุ่มนี้จะเป็นเพศชาย ฉะนั้นจึงต้องมีมาตรการที่จะป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและ มีความยั่งยืนประการหนึ่งคือ การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยงและหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ เด็กและเยาวชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคมด้วยการให้ความสำคัญ ในการให้ความรู้ความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชนเรื่องโรคเอดส์ยังคงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลุกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยเยาวชน ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ทางกลุ่มเยาวชนปลอดเอดส์ ตำบลกำแพงจึงได้จัดทำโครงการสร้างแกนนำเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจป้องกันเอดส์ในโรงเรียนมัธยมต้น ประจำปี ๒๕๖๑ เพื่อมุ่งเน้นให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. นักเรียนโรงเรียนบ้านปากบาราและโรงเรียนบ้านตะโละใส จำนวน 100 คน มีความรู้กี่ยวกับโรคเอดส์ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ทักษะการปฎิเสธ ทักาะการใช้ถุงยางอนามัย ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (โดยใช้แบบทดสอบ)
  2. 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันดรคเอดส์ โรรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนักเรียน เรื่องโรคเอดส์ การเริมสร้างทัศนคติ ความเชื่่อค่านิยมที่เหมะสม การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าการรู้จักปฎิเสธ ถุงยางอนามัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม หลังการทำกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการโรคเอดส์ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ทักษะการปฏิเสธ ทักษะการใช้ถุงยางอนามัย ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ (โดยใช้แบบทดสอบ) ๒. สามารถป้องกันและลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. นักเรียนโรงเรียนบ้านปากบาราและโรงเรียนบ้านตะโละใส จำนวน 100 คน มีความรู้กี่ยวกับโรคเอดส์ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ทักษะการปฎิเสธ ทักาะการใช้ถุงยางอนามัย ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (โดยใช้แบบทดสอบ)
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนมีความมรุ้ความเข้าใจเอดส์ที่ถูกต้อง 2. สังเกตพฟติกรรมถาม ตอบในเวที
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันดรคเอดส์ โรรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนที่เข้าร่วมดครงการมีร่วม ถาม- ตอบ ในเวที 2. มีมุมให้ความรุ้เรื่องโรคเอดส์ในโรงเรียน 2 แห่ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านปากบาราและโรงเรียนบ้านตะโละใส จำนวน 100 คน มีความรู้กี่ยวกับโรคเอดส์ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ทักษะการปฎิเสธ ทักาะการใช้ถุงยางอนามัย ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80  (โดยใช้แบบทดสอบ) (2) 2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการดำเนินงานด้านการป้องกันดรคเอดส์ โรรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1)  1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนักเรียน เรื่องโรคเอดส์ การเริมสร้างทัศนคติ ความเชื่่อค่านิยมที่เหมะสม การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าการรู้จักปฎิเสธ ถุงยางอนามัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยาวชนรุ่นใหม่ เข้าใจเอดส์ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชบา สาจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด