โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 ”
ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสราวุธ นะแหล่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จัดการขยะมูลฝอยต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ในขณะที่การนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ มีเพียงร้อยละ 22 ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนก็มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และมีการทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไปโดยไม่มีกลไกในการคัดแยกทำให้สารพิษที่อยู่ในของเสียอันตรายจากชุมชน ปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นของแต่ละชุมชน จะมีวิธีการดำเนินงานที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ปัญหาขยะมูลฝอยยังส่งผลเสียในด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการระบาดของโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคเลือดออกเป็นผลมาจากการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องและถูกวิธี บางครัวเรือนนิยมกำจัดขยะโดยการเผาส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศตามมา การจัดการสภาพแวดล้อมให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่ โดยในทุกขั้นตอนของการดำเนินการขึ้นอยู่กับชาวชุมชนที่จะต้องมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการและร่วมแก้ไขปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การดำเนินการที่มีความยั่งยืนตลอดไป ซึ่งแนวคิดนี้มีตัวอย่างความสำเร็จที่มีผู้บุกเบิกไปก่อนหน้านี้แล้วทั้งระดับชุมชนและระดับมหานคร ที่มีเป้าหมายเป็นชุมชนปลอดขยะในทางกลับกันการแก้ไขปัญหาขยะก็เป็นประเด็นพื้นฐานที่สามารถสร้างความร่วมมือและความเข้มแข็งของชุมชนได้ เพราะการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะจะเห็นเป็นรูปธรรม และเมื่อความร่วมมือของชาวชุมชนเกิดขึ้นจึงไม่ใช่เรื่องยากถ้าทุกคนร่วมแรงร่วมใจกันแก้ไขปัญหาอื่นๆที่ยากขึ้น ทั้งปัญหาทางสังคม ความยากจน และยาเสพติด แต่การจะได้มาซึ่งความร่วมมือดังกล่าวจำเป็นต้องมีการสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางและกระบวนการจัดการขยะที่มีรูปธรรมอย่างชัดเจนชุมชน ดังนั้น กลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ม.8 บ้านหน้าวัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดโครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 ขึ้นเพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ เพื่อให้ลดปัญหาทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย และเป็นการรณรงค์สร้างจิตสำนึก ความเข้าใจการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ
- เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
- เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ
- ป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
- ประชาชนมีจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน
วันที่ 23 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ ลดปัญหาทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย และเป็นการรณรงค์สร้างจิตสำนึก ความเข้าใจการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการบริหารจัดการขยะในชุมชน โดยการลดปริมาณถังขยะคืนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เเละประชาชนรุ้จักการเเยกขยะจากครัวเรือน มีการสร้างคุณค่าขยะเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ การนำอาหารหมักและเศษอาหารมาใช้ประโยชน์ทำให้ขยะลดลง ส่งผลให้ปัญหาทางสุขภาพ โรคภัยต่างๆ เช่นโรคไข้เลือดออกลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ
ตัวชี้วัด : ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ ร้อยละ 90
1.00
2
เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด : ป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
1.00
3
เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ (2) เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย (3) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสราวุธ นะแหล่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 ”
ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสราวุธ นะแหล่
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จัดการขยะมูลฝอยต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ในขณะที่การนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ มีเพียงร้อยละ 22 ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนก็มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และมีการทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไปโดยไม่มีกลไกในการคัดแยกทำให้สารพิษที่อยู่ในของเสียอันตรายจากชุมชน ปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นของแต่ละชุมชน จะมีวิธีการดำเนินงานที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ปัญหาขยะมูลฝอยยังส่งผลเสียในด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการระบาดของโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคเลือดออกเป็นผลมาจากการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องและถูกวิธี บางครัวเรือนนิยมกำจัดขยะโดยการเผาส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศตามมา การจัดการสภาพแวดล้อมให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่ โดยในทุกขั้นตอนของการดำเนินการขึ้นอยู่กับชาวชุมชนที่จะต้องมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการและร่วมแก้ไขปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การดำเนินการที่มีความยั่งยืนตลอดไป ซึ่งแนวคิดนี้มีตัวอย่างความสำเร็จที่มีผู้บุกเบิกไปก่อนหน้านี้แล้วทั้งระดับชุมชนและระดับมหานคร ที่มีเป้าหมายเป็นชุมชนปลอดขยะในทางกลับกันการแก้ไขปัญหาขยะก็เป็นประเด็นพื้นฐานที่สามารถสร้างความร่วมมือและความเข้มแข็งของชุมชนได้ เพราะการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะจะเห็นเป็นรูปธรรม และเมื่อความร่วมมือของชาวชุมชนเกิดขึ้นจึงไม่ใช่เรื่องยากถ้าทุกคนร่วมแรงร่วมใจกันแก้ไขปัญหาอื่นๆที่ยากขึ้น ทั้งปัญหาทางสังคม ความยากจน และยาเสพติด แต่การจะได้มาซึ่งความร่วมมือดังกล่าวจำเป็นต้องมีการสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางและกระบวนการจัดการขยะที่มีรูปธรรมอย่างชัดเจนชุมชน ดังนั้น กลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ม.8 บ้านหน้าวัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดโครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 ขึ้นเพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ เพื่อให้ลดปัญหาทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย และเป็นการรณรงค์สร้างจิตสำนึก ความเข้าใจการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ
- เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
- เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ
- ป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย
- ประชาชนมีจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ ลดปัญหาทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย และเป็นการรณรงค์สร้างจิตสำนึก ความเข้าใจการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการบริหารจัดการขยะในชุมชน โดยการลดปริมาณถังขยะคืนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เเละประชาชนรุ้จักการเเยกขยะจากครัวเรือน มีการสร้างคุณค่าขยะเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ การนำอาหารหมักและเศษอาหารมาใช้ประโยชน์ทำให้ขยะลดลง ส่งผลให้ปัญหาทางสุขภาพ โรคภัยต่างๆ เช่นโรคไข้เลือดออกลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ ตัวชี้วัด : ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ ร้อยละ 90 |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย ตัวชี้วัด : ป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย |
1.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : ประชาชนมีจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ถนนภายในบ้านหน้าวังปลอดถังขยะ (2) เพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอย (3) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะจากครัวเรือนจากแหล่งกำเนิดอื่นๆ ก่อนนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจปลอดถังขยะ ประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61– L3307 - 2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสราวุธ นะแหล่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......