กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส ”
ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายวินัย นุ้ยไฉย




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5312-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 128,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในปี 2560 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเครือญาติเป็นสังคมปัจเจกมากขึ้น ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวไทย เช่น ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่มีพ่อหรือแม่เลี้ยงบุตรเพียงลำพัง ครอบครัวพ่อแม่วัยรุ่น ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ ครัวเรือนที่มีอายุแบบกระโดด คือ ปู่ย่า/ตายายกับหลาน หรือครัวเรือนที่เป็นเพศเดียวกัน นอกจากนี้ในการดำเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งพ่อและแม่ต้องแสวงหารายได้ ทำให้ไม่สามารถอบรมเลี้ยงดูบุตรได้เท่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลที่เพียงพอ จึงถูกดึงดูดจากสิ่งจูงใจภายนอกครอบครัวโดยง่าย เช่น ติดเกม ติดสารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้คนอย่างรวดเร็วในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นต้น ส่งผลให้ผู้คนทุกเชื้อชาติสามารถติดต่อสื่อสารกันอย่างไร้พรมแดนและรวดเร็วทันใจ จึงเป็นโอกาสในการสร้างช่องทางใหม่ ๆ เพื่อการเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และดึงดูดความสนใจของเด็กและเยาวชนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ จุดประกายความคิดและจินตนาการใหม่ ๆ ในเชิงสร้างสรรค์ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชนจากกระแสการคลั่งไคล้และเสพติดเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นข้อจำกัดต่อผู้มีฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเท่าเทียมคนทั่วไป การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สู่สังคมอุตสาหกรรม และสังคมฐานความรู้ ส่งผลให้ประเทศไทยรับเอาค่านิยมความเป็นสากลทั้งจากตะวันตกและตะวันออกมาเชื่อมโยงกับวิถีความเป็นไทยกล่าวคือมีการเลียนแบบพฤติกรรมของซีกโลกตะวันตกที่มีความอิสระเสรีในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ความเป็นตัวตนโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งมีวุฒิภาวะทางอารมณ์น้อยย่อมได้รับผลกระทบมากและส่งผลต่อเนื่องไปยังครอบครัวและสังคม ความอยู่รอดปลอดภัยในสังคม พบว่าอายุเฉลี่ยของเด็กที่ใช้ความรุนแรงจนถึงกระทั่งกระทำผิดทางกฎหมายมีอายุน้อยลง โดยพบมากในช่วงอายุ 12-18 ปี ปัจจุบันครอบครัวมีการปฏิสัมพันธ์กันน้อยมาก โดยเฉพาะการพูดคุยและสร้างความเข้าใจกันภายในครอบครัว ทำให้เด็กและเยาวชนหันไปหาอบายมุข สิ่งมอมเมาที่ให้ความสุขเพียงชั่วคราว และประพฤติตนเรียกร้องความสนใจจากสังคมอย่างไม่เหมาะสม ปัญหาที่สำคัญคือพ่อแม่ผู้ปกครอง ไม่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ และขาดทักษะการเลี้ยงลูกอย่างเหมาะสม มีความคาดหวังทางการศึกษาของลูกในระดับสูงจนเกินไป ทำให้เด็กและเยาวชนเกิดความกดดันและไม่มีความสุขกับการเรียน โครงการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิตเยาวชนบ้านตะโละใสมีแนวทางการเสริมสร้างบทบาทครอบครัว ชุมชน ศาสนสถานให้เข้มแข็ง มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเด็กและเยาวชนไทยมีเพศสัมพันธุ์ครั้งแรกอายุน้อยลง จาก 18 - 19 ปีลดลงเป็น 15 - 16 ปี ขณะที่อัตราการใช้ถุงยางอนามัยมีมากสุดเพียงร้อยละ 56.9 ส่งผลให้การเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เด็กและเยาวชนไทยยังมีจุดอ่อนด้อยหลายประการ ที่สำคัญคือการพูดจริง และความซื่อสัตย์ แม้กระทั่งเด็กเรียนดี ก็ยังได้คะแนนข้อนี้ต่ำ รวมทั้งยังมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนาค่อนข้างน้อยและปัจจุบันเด็กและเยาวชนจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานศึกษาด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ ทั้งเดินเท้า ขับขี่รถ โดยสารรถประจาทาง ซึ่งล้วนแต่มีความเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนด้วยกัน
ด้วยสภาพพื้นที่บ้านตะโละใสในปัจจุบันความเจริญของบ้านเมืองได้พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว มีแหล่งแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอันดับต้นๆของประเทศไทยเช่นอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา และท่าเรืออ่าวนุ่นซึ่งเป็นท่าเรือแห่งที่ 2 ของอำเภอละงูที่นักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริการเพื่อไปเที่ยวชมแหล่งความงามทางธรรมชาติของเกาะแก่งต่างๆ เช่น เกาะเขาใหญ่ ปราสาทหินพันยอด เกาะลิดี เกาะตะรุเตา เกาะอาดัง เกาะราวี เกาะหลีเป๊ะ ในการเสนอโครงการทางคณะทำงาน ก.ม.หมู่ 4 บ้านตะโละใสเลือกประเด็น โครงการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิตเยาวชนบ้านตะโละใสเพื่อสร้างเกราะคุ้มกันในการดูแลตัวเองโดยใช้กระบวนการชาวค่ายในการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มเยาวชน ครอบครัว เรียนรู้ศักยภาพของชุมชนและ หน่วยงานกลุ่มเครือข่ายต่างๆในชุมชนเพื่อเป็นเกราะคุ้มกันภาวะสุ่มเสี่ยงในเรื่องยาเสพติด เช่นยาสูบ เครื่องดื่มเอลกอฮอล์ ได้ง่าย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงโรคเอดส์และความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนของกลุ่มเยาวชนได้อย่างเป็นระบบและแบบแผนเดียวกันอันจะนำไปสู่การดูแลเยาวชนบ้านตะโละใสได้อย่างเป็นระบบและ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัย เข้าใจโรคเอดส์ และการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และผลกระทบต่อเกี่ยวกับยาเสพติดและครอบครัวได้แสดงบทบาทหน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน การสร้างบทบาทหน้าที่ในครอบครัว การส้รางความอบอุ่น ลดช่องว่างระหว่างวัย และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาร่วมกันระหว่าง โรงเรียน ชุมชน วัด และกลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา การตั้งครรภ์ เข้าใจเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนทั้งในโรงเรียนและชุมชน
  2. ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอุบัติเหตุในกลุ่มวัยเรียนและเยาวชน
  3. ข้อที่ 3.เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 อบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจแก่แกนนำหมู่บ้านและผู้ปกครอง
  2. 2.ค่ายอบรมพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชนบ้านตะโละใส
  3. 3. อบรมและเข้าค่ายให้แก่เยาวชนเกี่ยวกับยาเสพติด เอดส์ และเพศศึกษา
  4. 4.อบรมและเข้าค่ายให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน กฎหมายและการจราจร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา การตั้งครรภ์ เข้าใจเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนทั้งในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้รับความรู้ป้องกันและแก้ปัญหา เรื่องสารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จากวิทยากรชำนาญการพิเศษเฉพาะทาง จำนวน 7 ชั่วโมง 2.เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้ออกกำลังกายตอนเช้า วันละ 2 ชั่วโมง
0.00

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอุบัติเหตุในกลุ่มวัยเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้รับความรู้ป้องกันและแก้ปัญหา เรื่องกฎหมายจราจรกับชีวิตประจำวันและภัยใกล้ตัวในสถานการปัจจุบัน จำนวน 4 ชั่วโมง
0.00

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรม
ตัวชี้วัด : 1.เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้รับความรู้ เรื่องจริยธรรมในชีวิตประจำวัน จำนวน 7 ชั่วโมง 2.เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้รับความรู้ป้องกันและแก้ปัญหา เรื่อง การศึกษาในยุคดิจิทัล จำนวน 3 ชั่วโมง 3.เยาวชนชาวค่ายจำนวน 70 คนได้รับความรู้ เรื่องประวัติศาตร์ชุมชน จำนวน 5 ชั่วโมง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา การตั้งครรภ์  เข้าใจเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนทั้งในโรงเรียนและชุมชน (2) ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอุบัติเหตุในกลุ่มวัยเรียนและเยาวชน (3) ข้อที่ 3.เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1  อบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจแก่แกนนำหมู่บ้านและผู้ปกครอง (2) 2.ค่ายอบรมพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชนบ้านตะโละใส (3) 3. อบรมและเข้าค่ายให้แก่เยาวชนเกี่ยวกับยาเสพติด เอดส์ และเพศศึกษา (4) 4.อบรมและเข้าค่ายให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน กฎหมายและการจราจร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิติครอบครัว เด็กและเยาวชนบ้านตะโละใส จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวินัย นุ้ยไฉย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด