กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ เอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5312-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการเจ็บป่วย แลำทำอันตรายต่อเกือบทุกวันทุกอวัยวะของร่างกาย มีคนไทย 1 ล้านคนที่มีชีวิตอยู่แต่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เกิดจากการบูบบุหรี่ ในคนไทยทุกคนที่เสียชีวิตจากจากสูบบุหรี่จะมีคนที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจากการสูบบุหรี่ที่มียังมีชีวิตอยู่อย่างน้อย 20 คน การสูบบุหรี่ทำใก้เกิดโรคมัเร้ง 12 ชนิด โรคหัวใจเส้นเลือดสมอง ดรคถุงลมปอดพอง เบาหวานการสูบบุหรี่เพิ่มควาทเสี่ยงทีจะเกิดเป็นโรควัณโรค ตาบอด ภูมิต้านทานของร่างกายลดลง และทุกอวัยวะแก้ก่อนวัย การสูบบุหรี่ทำให้สมรรถภาพเสี่อม การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนเวลาที่ป้องกันได้ การสูบบุหรี่ทำไลให้คนไทยเสีบชีวิตปีละ 50,710 คน ซึ่งยังไม่รวมคนที่เสียชีวิตจากการได้รับควันบุหรี่มือสองการรสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเสีบชีวิต 1 ใน 6ของชายไทย และ 1 ใน 30 ของหญิงไทย การสูบบุหรี่ทำให้คนไทยเสียชีวิตวันละ 140 คนผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่สั้นลง 12 ปี และป่วยหลักโโยเฉลี่ย 2.5 ปีก่อนตาย การสูบบุหรี่ของประชากรไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ปีล่าสุด (พ .ศ.2558 ) พบว่า ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีผู้สูบบุหรี่ 10.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 19.9 ภาพรวม พบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ. ศ. 2547-2557) อัคราการสูบบุหรี่มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 23.0 เป็นร้อยละ 20.7 และล่าสุด ในปี พ.ศ. 2558 อัตราการบริโภคยาสูบ คิดเป็นร้อยละ 19.9 ซิชึ่งเมื่อเทียบกับการสำรวจครั้งที่ผ่านมา (พ. ศ.2557) พบว่า ทั้วเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบบุหี่ลอลง ทั้งนี้อัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายยังคงสูงกว่าเพศหญิง ประมาณ 20 เท่าเมื่อพิจารณารายกลุ่มอายุพบว่า อัตราการบริโภคยาสูบในกลุ่ม วัยทำงาน อายุ 25-59 ปี มีการสูบบูหรี่สูงที่สุด โดยกลุ่มอายุ 25-59 ปีและ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มอัตราการสูบบุหรี่ที่สูงขึ้นจากร้อยละ 22.79 และ ร้อยละ 14.25 เป็นร้อยละ 23.54 และร้อยละ16.63 อีกทั้งมีอัตราการป่วยและตายจากโรคที่เกี่ยวข้องกับยาสุบเพิ่มขึ้น(สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ : 2559) จากรายงานสถานการณ์การบริโภคยาสูบของประเทศไทย ย้อนหลัง ปี 2554 และ 2550 พบว่าอัตราการสูบบุหรี่เป็นประจำ จำแนกตามเพศและรายจังหวัดพบว่า ในปี พ.ศ. 2544พบว่า 5 จังหวัดลำดับแรกที่อัตราการสูบบุหรี่ เป็นประจำสูงสุด ซึ่งมีทั้งภาคเหนือ ภาคอีสานและภาคใต้ ได้แก่ หนองบัวลำภู ตาก แม่ฮองสอน กระบี่ และกาฬสินธ์ุ ขณะที่ ปี 2550 กลับพบว่า 4 ใน 5 จังหวัดลำดับแรกของภาคใต้ มีอัตราการสูบบุหรี่เป็นประจำสูงสุด ได้แก่ปัตตานี ชุมชม สุราษฎร์ธานี และสตูล ส่วนอีก 1 จังหวัดที่เหลืออยู่ในภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดตาก (กรมควบคุมโรค : 2553) องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า มีพนักงานคณะผู้บริหารทั้งสิ้น 63 ราย แบ่งเพศชาย 22 ราย เพศหญิง 41 ราย มีพนักงานชายที่สูบบุหรี่ จำนวน 12 ราย คิดเป็นร้แยละ 54.6 ของพนักงานชาย จากสถานการณ์ดังกล่าว ทางองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้ามีความเป็นห่วงสุขภาพของพนักงานที่ปฎิบัติงานในหน่วยงาน โดยมิได้มุ่งหวังเพียงบุคคลปฎิบัติงานในหน่วยงานเท่านั้นยังคงใส่ใจสุขภาพพลานามัยของพนักงานในองค์กรและครอบครัวสุขภาพดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บที่สามารถป้องกันได้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ลด ละ เลิก บุหรี่
  2. 2.เพื่อให้มีเวทีในการจัดธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่
  3. 3.เพื่อจัดทำธรรมนูญ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ในการแก้ปัญหาการสูบบุหรี่ของบุคลากรในองค์กร มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ เป็นลายลักษณ์อักษร
  4. 4.เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการดูแลสุึขภาะของตนเองและบุคคลอื่นในองค์กร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีที่ 1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า
  2. คณะทำงานประชุมพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาการละเลิกการสูบบุหรี่
  3. เวทีที่ 2 เวทีคืนข้อมูลร่างธรรมนูญองค์กรปลอดบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 48
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้บุคลากรในองค์กรสามารถใช้เครื่องมือ ธรรมนูญสุขภาพในการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ 2.บุคากรในองค์กรสามารถ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ นำไปสู่องค์กรต้นแบบปลอดบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ลด ละ เลิก บุหรี่
ตัวชี้วัด : มีธรรมนูญสุขภาพเรื่ององค์กรปลอดบุหรี่
0.00

 

2 2.เพื่อให้มีเวทีในการจัดธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : เวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่
0.00

 

3 3.เพื่อจัดทำธรรมนูญ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ในการแก้ปัญหาการสูบบุหรี่ของบุคลากรในองค์กร มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ เป็นลายลักษณ์อักษร
ตัวชี้วัด : มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ เป็นลา่ยลักษณ์อักษร
0.00

 

4 4.เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการดูแลสุึขภาะของตนเองและบุคคลอื่นในองค์กร
ตัวชี้วัด : บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 48
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 48
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อใช้ธรรมนูญสุขภาพประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ลด ละ เลิก บุหรี่ (2) 2.เพื่อให้มีเวทีในการจัดธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ (3) 3.เพื่อจัดทำธรรมนูญ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ในการแก้ปัญหาการสูบบุหรี่ของบุคลากรในองค์กร  มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ เป็นลายลักษณ์อักษร (4) 4.เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการดูแลสุึขภาะของตนเองและบุคคลอื่นในองค์กร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีที่ 1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า (2) คณะทำงานประชุมพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาการละเลิกการสูบบุหรี่ (3) เวทีที่ 2 เวทีคืนข้อมูลร่างธรรมนูญองค์กรปลอดบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ ประเด็นองค์กรปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ เอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด